วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555

ระะบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระะบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ซอฟต์เเวร์
   ซอฟต์เเวร์ หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรเเกรมที่สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นลำดับขั้นตอน เช่น
เเปลคำสั่งที่ได้รับจากอุปกรณ์รับข้อมูล ส่งข้อมูลที่ประมวณผลเเล้วไปยังอุปกรณ์เเสดงผล ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำงานหลายอย่าง เช่น นักเรียนใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์รายงาน บริษัทใช้คอมพิวเตอร์จัดทำบัญชี การที่คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้หลายอย่างนั้นเพราะคอมพิวเตอร์มีซอฟต์เเวร์ช่วยสนับสนุนการทำงานซอฟต์เเวร์จึงเป็นโปรเเกรมคอมพิวเตอร์ทุกประเภทที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้
  

   ซอฟต์เเวร์ระบบ เป็นซอฟต์เเวร์ประจำเครื่องที่ผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ดำเนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของหน่วบรับเข้า หน่วยประมวลผล หน่วยส่งออกเเละความจำของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแป้พิมพ์ เมาส์ เเละเเปลความหมายให้หน่วยประมวลผลเข้าใจ นำข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลไปเเสดงบนจอภาพ หรือนำออกทางเครื่องพิมพ์ เมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ซอฟต์เเสร์ระบบจะเก็บไว้จะสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามโปรเเกรมทันทีตัวอย่างระบบ เช่น ตัวแปลภาษาที่ช่วยแปลภาษระดับสูงเป็นภาษาเครื่อง เเละระบบปฏิบัติการที่ใช้การดูเเลระบบคอมพิวเตอร์
   ซอฟต์เเวร์ประยุกต์ ประกอบด้วยซอฟต์เเวร์สำเร็จที่่มีผู้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานทั่วไป ทำให้ทำงานได้สะดวกขึ้น เช่น ซอฟต์เเวร์ประมวลผลคำ ซอฟต์เเวร์ตารางทำงาน เเละซอฟต์แวร์การฟิก เป็นต้น เเละซอฟต์เเวร์ใช้งานเฉพาะซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหสะาสมกับความต้องการของผู้ใช้ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรง เช่น ธนาคารใช้ซอฟต์เเวร์ที่เกี่ยวกับด้านบัญชี ห้างสรรพสินค้าใช้ซอฟต์เเวร์ที่เกี่ยวกับงานด้านสินค้า เป็นต้น
    ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ ( Operating Sytem : OS ) เป็นซอฟต์เเวร์ที่ใช้ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ดูเเลตัวเครื่อง หรือส่วนที่เป็นฮาร์ดเเวร์ดูเเลการจัดการข้อมูลเเละช่วยให้ผู้ใช้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้นเปรียบได้กับผู้จดการระบบที่อยู่ระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง เพื่อควบคุมการทำงาน เช่น การเเสดงผลบนจอภาพ การรับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ เมาส์ การทำสำเนาเเฟ้มข้อมูล
     หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
1. ติดต่อกับผู้ใช้ โดยรับข้อมูลจากผู้ใช้และเเสดงผลให้ผู้ใช้ได้เห็น
2. นำโปรเเกรมที่ต้องการใช้ไปเก็บในหน่ววยความจำของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตาคำสั่งของโปรเเกรมนั้นต่อไป
3. ประสานการทำงานระหว่างซีพียู เเรม แป้นพิมพ์ เมาส์ และระบบฮาด์เเวร์อื่น ๆ ให้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ
4.อ่านและเขียนข้อมูลจากดิสก์
   ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่ควรรู้จักมีดังนี้
1. ดอส ( Disk Operating Sytem : DOS ) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับเครื่องคอมพิงเตอร์ส่วนบุคคลตั้งเเต่ยุคเเรก ใช้งานยาก รับคำสั่งจากผู้ใช้เป็นตัวอักษรหรือข้อความ ผู้ใช้จะต้องพิมพ์คำสั่งผ่านแป้นพิมพ์เป็นหลัก จึงต้องรู้การพิมพ์คำสั่งต่าง ๆ มากมาย ปัจจุบันจึงมีการใช้ระบบปฏิบัติการดอสน้อยมาก
2. วินโดวส์ ( Windows ) เป็นระบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอสผู้ใช้สามารถใช้การคลิกเมาส์บนภาพการฟิกที่เป็นสัญลักษณ์ต่าง ๆ เเทนการพิมพ์คำสั่งจากแป้นพิมพ์ก็ได้ ทำงานได้หลายงานพร้อมกัน โดยงานเเต่ละงานจะอยู่ในช่องหน้าต่างบนจอภาพ เป็นระบบปฏิบัติกาารที่นิยมในปัจจุบัน
3. แมคอินทอช ( Macintosh ) เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช นิยมใช้งานประเภทการออกเเบบ กราฟิก เเละสิ่งพิม์ต่าง ๆ
     ระบบปฏิบัติการวินโดวส์
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ( Windows ) ซึ่งหมายถึงหน้าต่างของการทำงาน
 ตัวอย่างหน้าต่างในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้

1. ไตเติลบาร์ ( Title Bar ) มีปุ่มควบคุม ดังนี้




ปุ่มแมกซิไมซ์ ( Maximize )




ปุ่มมินิไมซ์ ( minimize )



                               
 ปุ่มปิดโปรมเเกรม ( Close )

2. เมนูบาร์ ( Menu Bar )


3. คอนโทรลเมนูบาร์ ( Control Bar )


4. เเถบเลื่อน ( Scroll Bar )


5. แถบสถานะ ( Status Bar )



ข้อดีของระบบปฏิบัติการวินโดวส์ มีดังนี้
1. ประกอบด้วยรูปภาพสัญลักษณ์( icon ) ซึ่งเมาส์ออกคำสั่งได้โดยไม่ต้องพิมพ์ หรือจำคำสั่ง
ทำให้ใช้งานง่าย
2. สามารถเปิดโปรเเกรมขึ้นใช้งานได้หลายโปรเเกรมพร้อนกัน
3. มีโปรเเกรมสนับสนุนการทำงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้
คำถาม
1. กลุ่มของนักเรียนสรุปการอภิปลายเรื่อง หน้าที่ของระบบปฏิบัติการว่าอย่างไร
2. ผลการอภิปลายของนักเรียนแตกต่างจากกลุ่มอื่นหรือไม่
3. กลุ่มของนักเรียนใช้วิธีการใดในการหาข้อสรุปร่วมกัน








  



 


วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

การแยกเชื้อสาเหตุโรคพืช
Plant Pathogen Isolation Techniques
ในการวินิจฉัยสาเหตุเบื้องต้นของการเป็นโรคของพืชนั้น ต้องทราบให้ได้ว่าเกิดจากปัจจัย
ของเชื้อสาเหตุ หรือปัจจัยทางกายภาพ ในบางกรณี อาการของโรคที่แสดงจะเป็นตัวบ่งบอกถึง
สาเหตุของโรคได้ ในทางกลับกัน โรคบางชนิดอาจไม่สามารถตอบได้ถึงเชื้อสาเหตุในทันที ในกรณี
ของโรคที่เกิดจากเชื้อสาเหตุ เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และไส้เดือนฝอย ส่วนใหญ่จะพบว่ามีเชื้อ
สาเหตุนั้นอยู่ในบริเวณผิวพืชที่เป็นโรค หรืออาศัยอยู่ภายในส่วนต่าง ๆ ของพืชที่เป็นโรค หรือ
แม้กระทั่งในดินที่ปลูกพืชนั้น ๆ ในปัจจุบันแม้จะมีวิธีการทางด้านชีวโมเลกุลเข้ามามีบทบาท ใน
การตรวจวิเคราะห์ทางโรคพืชอย่างกว้างขวาง แต่ก็ยังมีข้อจำกัดในหลายส่วน อย่างไรก็ดี การแยก
เชื้อยังเป็นวิธีการที่จำเป็นต้องกระทำในการพิสูจน์เพื่อให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของโรค เพื่อ
ประโยชน์หลักในแง่ของการป้องกันกำจัด นอกจากนั้นยังสามารถใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ ได้ เช่น
การศึกษาลักษณะทางกายภาพของเชื้อ ระบาดวิทยา การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อสาเหตุ
กับพืชอาศัย เป็นต้น สำหรับวิธีการแยกเชื้อนั้นมีด้วยกันหลายวิธีขึ้นกับชนิดของเชื้อเป็นหลัก

วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

อุปกรณ์สารสนเทศ


อุปกรณ์สารสนเทศ


เทคโนโลยีการเก็บข้อมูลพัฒนาไปเรื่อย ๆ จากเมื่อก่อนที่เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่มีที่เก็บข้อมูล (สมัยจอเขียวกับจอขาว) ใช้แค่ Floppy Disk หรือแผ่น Drive A ตามภาษาชาวบ้าน ขนาด 5.25 นิ้ว (หลัง ๆ บางครั้งเอามาส่องดูสุริยุปราคาได้ด้วย) ซึ่งมีความจุแค่ 360 KB กับ 720 KB เท่านั้น จากนั้นเราก็มีที่เก็บข้อมุลในตัวเครื่องให้ใช้กันนั่นคือ Harddisk มาให้ให้เก็บข้อมูลเยอะ ๆ กัน พร้อมกับก็มี Floppy Disk ขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44 MB ซึ่ง Floppy Disk ก็กลายเป็นตำนานไปแล้ว (ครั้งหนึ่งเราเคยรักกัน)


เมื่อถึงยุค Multimedia การดูหนังฟังเพลงสามารถเล่นได้กับคอมพิวเตอร์ เมื่อคอมพิวเตอร์เสียบลำโพงได้ ก็มีการนำแผ่น CD มาเล่นกับคอมพิวเตอร์ได้ ด้วย CD Drive นอกจากจะบันทึกข้อมูลแบบหนังและเพลงแล้ว แผ่่น CD ยังมาถูกนำมาใช้ในการเก็บไฟล์ติดตั้งโปรแกรมต่าง ๆ แทนที่จะเก็บใส่ Floppy Disk หลาย ๆ แผ่น (โปรแกรมหนึ่งใช้ Floppy Disk เป็นกล่องเลย) ก็เก็บมาไว้ใน CD แผ่นเดียว เห็บได้หลายโปรแกรมซะด้วยนะ เพราะมีความจุ 800 MB แล้วต่อมานอกจากอ่านแล้วก้มี CD-RW Drive มาให้ใช้เขียนข้อมูลลง CD ได้ด้วย ซึ่งแผ่น CD จะมีอยู่ 2 แบบ คือ CD-R เขียนข้อมูลได้อย่างเีดียว และ CD-RW เขียนและลบข้อมูลได้ด้วย แผ่น CD มีแบบที่เป็น Mini CD และ Card CD ซึ่งขนาดเล็กกว่า CD ความจุก็เลยน้อยกว่าด้วย

มาถึงยุค Hispeed Internet การดาวน์โหลดจ้อมูล,โปรแกรม,รูปภาพ,เอกสาร,หนังและเพลง ทำได้ง่ายขึ้น ทำให้ Harrdisk ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะมีความจุ หลายร้อย GB ถึง TB ก็ไม่พอเก็บ External Harddisk จึงกลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง เพราะราคาก็ถูกลงตาม Internal Harddisk ด้วย ข้อมูลมากมายจึงถูกนำมาเก็บไว้ใน External Harddisk ซึ่งก็มีอยู่ 2 แบบ คือ 2.5 กับ 3.5 ตามขนาด








                                 

วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ประวัติของนายชวน หลีกภัย


ชวน หลีกภัยจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา ชวน หลีกภัย

นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 20
ดำรงตำแหน่ง
23 กันยายน พ.ศ. 2535 – 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(&&&&&&&&&&&&&&02.&&&&&02 ปี, &&&&&&&&&&&&0292.&&&&&0292 วัน)
สมัยก่อนหน้า อานันท์ ปันยารชุน
สมัยถัดไป บรรหาร ศิลปอาชา
ดำรงตำแหน่ง
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(&&&&&&&&&&&&&&03.&&&&&03 ปี, &&&&&&&&&&&&&092.&&&&&092 วัน)
สมัยก่อนหน้า พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
สมัยถัดไป พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่ง
26 มกราคม พ.ศ. 2534 – 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
สมัยก่อนหน้า พิชัย รัตตกุล
สมัยถัดไป บัญญัติ บรรทัดฐาน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 (74 ปี)
ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
พรรคการเมือง พรรคประชาธิปัตย์
คู่สมรส ภักดิพร สุจริตกุล (ไม่ได้จดทะเบียนสมรสด้วยกัน)
ศาสนา พุทธ
ลายมือชื่อ

ชวน หลีกภัย (ชื่อจีน: 呂基文; พินอิน: Lǚ Jīwén ลวี่จีเหวิน, ฮกเกี้ยน: ลู่กี่บุ๋น ; 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 — ) นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยคนที่ 20 เป็นนายกรัฐมนตรีสองสมัยใน คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 และ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

เนื้อหา [ซ่อน]
1 ประวัติ
1.1 การศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์
1.2 การทำงาน
2 นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
3 คำยกย่องและคำวิจารณ์
3.1 คำยกย่อง
3.2 คำวิจารณ์
4 บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
5 วาทะของนายชวน หลีกภัย
6 การดำรงตำแหน่งอื่นๆ
7 รางวัลและเกียรติยศ
8 เครื่องราชอิสริยาภรณ์
9 อ้างอิง
10 หมายเหตุ
11 แหล่งข้อมูลอื่น


ประวัติชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ [1]อำเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียกในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก

มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย[2]

ชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย สมัยแรกระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 (ครม.คณะที่ 50) สมัยที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 (ครม.คณะที่ 53) และเคยดำรงตำแหน่งเป็น หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ติดต่อกัน 3 สมัย ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2546 เป็นเวลารวม 12 ปี

การศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์ประถมศึกษา โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง
มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดควนวิเศษ และโรงเรียนตรังวิทยา
สำเร็จการศึกษาโรงเรียนศิลปศึกษา แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยาลัยช่างศิลป์ ในปัจจุบัน)
พ.ศ. 2505 นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2507 เนติบัณฑิต สำนักอบรมศึกษาทางกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 17
พ.ศ. 2528 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2530 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2536 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2537 ดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม (ภาพเขียน) มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2541 นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
พ.ศ. 2542 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย San Marcos สาธารณรัฐเปรู
พ.ศ. 2548 รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาการเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2552 นิติศาสตร์คุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำงานชวน หลีกภัยได้เริ่มต้นชีวิตการทำงานโดยการเป็นทนายความ และต่อมาได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในปี พ.ศ. 2534 ชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการมาหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข รวมถึง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน ในปี พ.ศ. 2533 ชวน หลีกภัย ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี สมัยที่ 1 และวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 พร้อมควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทั้งนี้นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายชวนเป็นพลเรือนคนที่สอง นับจาก ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงนี้

ดูเพิ่มที่ ประวัติการทำงานของพรรคประชาธิปัตย์
ในเหตุการณ์ 6 ตุลา ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์พร้อมกับรัฐมนตรีในพรรคประชาธิปัตย์อีก 2 คน คือ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ และ นายสุรินทร์ มาศดิตถ์

สรุปประวัติทางการเมือง

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยแรก) พ.ศ. 2512
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สอง) พ.ศ. 2518
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2518
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สาม) พ.ศ. 2519
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2519
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2519
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สี่) พ.ศ. 2522
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2523
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2524
รัฐมนตรว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2525-2526
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่ห้า) พ.ศ. 2526
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่หก) พ.ศ. 2529
ประธานสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529-2531
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่เจ็ด) พ.ศ. 2531
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2531-2532
รองนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2532 - 26 ส.ค.2533
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2533 (ส.ค.-ธ.ค.2533)
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (26 ม.ค.2534 - 4 พ.ค. 2546)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่แปด) พ.ศ. 2535 (22 มี.ค.2535)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่เก้า) พ.ศ. 2535 (13 ก.ย.2535)
นายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 (23 ก.ย.2535 - 20 ก.ค.2538)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบ) พ.ศ. 2538 (2 ก.ค.2538)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538 (4 ส.ค.2538)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบเอ็ด) พ.ศ. 2539 (17 พ.ย.2539)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2539 (21 ธ.ค.2539)
นายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2540 (9 พ.ย.2540 - 8 ก.พ.2544)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2540 (14 พ.ย.2540-18 ก.พ.2544)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบสอง) พ.ศ. 2544 (6 ม.ค.2544)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544 (11 มี.ค.2544)
ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน)
นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
การอภิปรายในสภา ของนายชวน หลีกภัยวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ถึง 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
ชวน หลีกภัย ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยแรก ดำรงตำแหน่งระหว่างเป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 และยังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของไทยที่มาจากการเลือกตั้ง สิ้นสุดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยการยุบสภา

วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ชวน หลีกภัย ได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สอง โดยรับช่วงต่อหลังจาก พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งเนื่องจากเกิดปัญหาเศรษฐกิจอย่างหนักจนต้องลอยตัวค่าเงินบาท กองทัพไม่ได้ต่อต้านการคืนสู่ตำแหน่งของเขา ชวนได้แต่งตั้งคณะทำงานด้านเศรษฐกิจที่น่าเชื่อถือจนได้รับความเชื่อถือและเห็นชอบจากสถาบันการเงินนานาชาติและสหรัฐอเมริกา มุ่งไปสู่การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ อีกทั้งรัฐบาลผสมก็เอาชนะความพยายามของฝ่ายค้านในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ แม้ชวนจะไม่ใช่นักการเมืองที่น่าดึงดูดใจ แต่ก็ได้รับการสนับสนุนและไว้วางใจ เพราะถูกมองว่าซื่อสัตย์ มุ่งปฏิรูประบอบประชาธิปไตยและขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวง [3]

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สอง ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่เคารพกติกาประชาธิปไตย[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจากรัฐบาลจัดตั้งขึ้น โดยกลุ่มของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ขณะที่ฝ่ายรัฐบาลเดิมสนับสนุนให้ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้าพรรคชาติพัฒนาขึ้นดำรงตำแหน่งแทน โดยการสนับสนุนของพรรคความหวังใหม่ (125 คน) พรรคชาติพัฒนา (52 คน) พรรคประชากรไทย (18 คน) และ พรรคมวลชน (2 คน) รวม 197 เสียง ส่วนฝ่ายค้านเดิมนำโดยพรรคประชาธิปัตย์ (123 คน) ร่วมกับพรรคชาติไทย (39 คน) พรรคเอกภาพ (8 คน) พรรคพลังธรรม (1 คน) พรรคไท (1 คน) และพรรคร่วมรัฐบาลเดิมได้แก่พรรคกิจสังคม (20 คน) และพรรคเสรีธรรม (4 คน) สนับสนุนนายชวน หลีกภัย ด้วยเสียงทั้งสิ้นรวม 196 เสียง ซึ่งน้อยกว่าฝ่ายรัฐบาล 1 เสียง[4]


ชวน หลีกภัย กับบิล คลินตัน เมื่อปี พ.ศ. 2542การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนายชวน หลีกภัย ก่อให้เกิดกลุ่มการเมือง ที่ถูกตั้งชื่อว่า กลุ่มงูเห่า ซึ่งเป็นสมาชิกพรรคประชากรไทยจำนวน 12 คนที่เข้าร่วมสนับสนุนรัฐบาล โดยคำชวนของ พล.ต. สนั่น ขจรประศาสน์ จนกระทั่งถูกพรรคประชากรไทยมีมติขับไล่ ทั้ง 12 ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค และส่งผลให้สิ้นสุดสถานภาพ ส.ส.ตามกฎหมาย กลุ่มงูเห่าทั้ง 12 คน ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่ามติดังกล่าวเป็นมติที่ไม่ชอบ ขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ส.ส.ตามรัฐธรรมนูญ ส่งผลให้ ส.ส.ทั้ง 12 คน ยังคงสถานภาพ และหาพรรคใหม่สังกัด

นอกจากกรณีกลุ่มงูเห่าแล้ว ยังมีกรณีรัฐมนตรีร่วมรัฐบาลที่ได้รับการตัดสินว่ามีความผิดทางการเมืองอีก 2 ท่าน ได้แก่ นายรักเกียรติ สุขธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและ พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยนายรักเกียรติ สุขธนะ (พรรคชาติไทย) ได้รับคำพิพากษาตัดสินจาก ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้จำคุกเป็นเวลา 5 ปี ฐานเรียกรับสินบนบริษัทยา ทีเอ็น พี เฮลท์ แคร์ จำกัด ซึ่งนับว่าเป็นรัฐบาลชุดแรกที่รัฐมนตรีร่วมรัฐบาล ได้รับโทษถึงที่สุดให้จำคุกจากการทุจริตในระหว่างการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในคณะร้ฐบาล

นอกจากนี้ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ของรัฐบาลนายชวน หลีกภัยและเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ก็ได้รับคำพิพากษาจากศาลรัฐธรรมนูญ ห้ามยุ่งเกี่ยวกับการเมืองเป็นเวลา 5 ปี จากการรายงานบัญชีทรัพย์สินตกหล่น

การจัดตั้งรัฐบาลสมัยที่สองของนายชวนนี้ ได้รับการสนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะชนชั้นกลางใน กทม. เนื่องจากคาดว่ารัฐบาลนายชวน หลีกภัย จะสามารถฉุดประเทศไทยออกจากวิกฤตเศรษฐกิจที่เริ่มขึ้นในรัฐบาลของ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ แต่การแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลนายชวน หลีกภัยไม่บรรลุผลไม่สามารถดึงเศรษฐกิจให้หลุดพ้นจากภาวะการตกต่ำได้ทันใจ ความต้องการของประชาชน ทำได้แค่นำคนไข้ออกจากห้องฉุกเฉิน เข้าพักฟื้นในห้องคนป่วยปกติ แม้ว่าจะได้ดำเนินการมากว่า 3 ปี นอกจากนี้ นโยบายพรรคไทยรักไทย ยังเป็นที่ดึงดูดใจของประชาชน เช่น ปลดหนึ้เกษตรกร หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ สามสิบบาทรักษาทุกโรค ในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งถัดมาในปี พ.ศ. 2544 ทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้พรรคประชาธิปัตย์การพ่ายแพ้ต่อพรรคไทยรักไทย และนายชวน ต้องกลับมาเป็นฝ่ายค้าน

คำยกย่องและคำวิจารณ์
นายชวน หลีกภัย ขณะปราศรัยหาเสียงที่จังหวัดตรัง ในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2512 ซึ่งนายชวนลงสมัครเป็นครั้งแรก โดยมี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ชุดขาว) หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ขณะนั้น นั่งไขว่ห้างฟังอยู่ข้างล่างคำยกย่องยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย และยึดถือในเรื่องของหลักการเป็นอย่างมาก[ต้องการอ้างอิง]
เป็นนักการเมืองที่มือสะอาด จนได้รับฉายา Mr. Clean (นายสะอาด) [5] นอกจากนี้ภาพที่พบจากสื่อมักแสดงให้เห็นว่าใช้ชีวิตอย่างสมถะ[ต้องการอ้างอิง]
เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่กล้าประกาศว่า รมต. ว่าการกระทรวงกลาโหม ไม่จำเป็นต้องเป็นทหาร แสดงให้เห็นถึงบุคลิกผู้นำและบริหารปราศจากอำนาจของทหารได้เป็นอย่างดี
คำวิจารณ์การอนุมัติแต่งตั้ง จอมพลถนอม กิตติขจร หนึ่งใน 3 ทรราช เป็นนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ 1 รักษาพระองค์ เมื่อปี พ.ศ. 2542 ท่ามกลางกระแสไม่พอใจของสังคม สื่อมวลชน และโดยเฉพาะญาติของผู้เสียชีวิต/สูญหายในเหตุการณ์ 14 ตุลา 16 และ 6 ตุลา 19[6]
ชวน หลีกภัยมักออกรับประกันแทนลูกพรรคที่ได้รับการวิจารณ์ว่าเกี่ยวข้องกับการทุจริต เปรียบเสมือนกับการทาสีดำให้เป็นขาวจนได้รับสมญานาม "ช่างทาสี" ในการตั้งสมญาประจำปีของผู้สื่อข่าวประจำทำเนียบรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2545 ชวนได้สมญาว่าเป็น "แผ่นเสียงตกร่อง" [ต้องการอ้างอิง]
ได้รับคำวิจารณ์ว่าทำงานช้า โดยมีคำพูดที่ถูกนำไปล้อเลียนประจำคือ "ผมยังไม่ได้รับรายงาน" "ทุกอย่างต้องเป็นไปตามขั้นตอน" "อันนี้ผมกำลังพิจารณาอยู่"
ในช่วงเดือนปลายปี 2547 ภายหลังเหตุการณ์สึนามิ ชวน หลีกภัย ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการขอใช้งบประมาณ 2 หมื่นล้านบาทในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยของรัฐบาลว่าเป็นสิ่งที่จำเป็น และให้ความเห็นว่า การใช้งบประมาณนี้ ในการช่วยเหลือภาคใต้ ยิ่งเป็นสิ่งที่จำเป็น เพราะว่ารัฐบาลละเลยไม่ดูแลพื้นที่ดังกล่าวมาตลอดสี่ปี เพื่อเป็นการแก้เผ็ด ที่ไม่เลือกรัฐบาล [ต้องการอ้างอิง]
กรณีขายสินทรัพย์ ปรส. และ "กฎหมายขายชาติ" 12 ฉบับ มีการโจมตีกันอย่างมากแต่จนแล้วจนรอด ข้อกล่าวหากฎหมายเหล่านี้เป็นแค่เกมการเมือง จะเห็นได้ชัดว่ารัฐบาลยุคต่อไปของทักษิณก็ยังใช้อยู่ [ต้องการอ้างอิง]
บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ชวน หลีกภัย กลับมาเป็นผู้นำฝ่ายค้านอีกครั้ง เมื่อ 14 มีนาคม พ.ศ. 2544 และต้องการ ก้าวลงจากตำแหน่ง หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งหัวหน้าพรรคใน 2 ปีถัดมาเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546 นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ได้รับเลือก เป็นหัวหน้าพรรค ทำให้รวมแล้ว ชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค 3 สมัยเป็นเวลาทั้งสิ้น 12 ปี

ในการเลือกตั้งครั้งถัดมาเมื่อปี พ.ศ. 2548 หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์ ไม่สามารถได้รับคะแนนเสียงเพียงพอ ต่อการจัดตั้งรัฐบาล แข่งกับพรรคไทยรักไทย บัญญัติ บรรทัดฐาน ลาออกจากตำแหน่งตัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน

ปัจจุบัน ชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่ง ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

วาทะของนายชวน หลีกภัย ได้มีการแนะนำว่า บทความนี้หรือบางส่วนของบทความนี้ควรย้ายไปที่โครงการวิกิคำคม (อภิปราย)
เนื่องจากมีเนื้อหาไม่ตรงตามนโยบายของวิกิพีเดีย แต่อาจเหมาะสมกับโครงการวิกิคำคมมากกว่า

ชวน หลีกภัย ได้ชื่อว่าเป็นนักการเมืองที่มีคารมคมคาย โดยเฉพาะในแบบเชือดเฉือน จนได้ฉายาว่า "ใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง" ตัวอย่างวาทะเด็ดของ นายชวน หลีกภัย เช่น

 ยังไม่ได้รับรายงาน
 
 เราไม่อาจทำให้คนทุกคนร่ำรวยเท่าเทียมกันได้ แต่เราสามารถทำให้ทุกคนอยู่ใต้กฎหมายเดียวกันได้
 
 ยอมให้คนโง่ที่คนรอบข้างซื่อสัตย์ปกครองประเทศ ดีกว่าปล่อยให้คนซื่อแต่คนรอบข้างโกงกินปกครองประเทศ
 

การดำรงตำแหน่งอื่นๆอุปนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรรมการสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลและเกียรติยศเครื่องหมายกิตติมศักดิ์ราชนาวิกสภาและประกาศนียบัตรของกองทัพเรือ จากการสนับสนุนการศึกษาของกองทัพเรือ นับเป็นนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรก ที่ได้รับเครื่องหมายนี้ โดยนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับคือ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช., 2525)
 มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม., 2524)
 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช., 2523)
 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม., 2522)
 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายหน้า (ท.จ.ว., 2541)[7]
 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายหน้า (ต.จ.ว., 2539)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ :

Order of Sukatuna (Special Class) , Raja สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (2536)
Order of the Sun (Grand Cross) สาธารณรัฐเปรู (2542)
Grand Cross of the Order of Christ สาธารณรัฐโปรตุเกส (2542)
Jose Dolores Estrada, Batalla de San Jacinto (Gran Cruz) สาธารณรัฐนิการากัว (2543)
Romania's Star - The High Cross ประเทศโรมาเนีย (2543)
อ้างอิง1.^ ปัจจุบัน อยู่ในเขตตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
2.^ หนังสือกินอยู่เรียบง่าย สบายแบบชาวบ้าน ชวน หลีกภัย ลูกแม่ค้าขายพุงปลา โดย เริงศักดิ์ กำธร (พ.ศ. 2545) ISBN 974-85645-2-5
3.^ ไมเคิล ลีเฟอร์, จุฬาพร เอื้อรักสกุล (แปล-เรียบเรียง). พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์, 2548. 726 หน้า. ISBN 974-571-921-8
4.^ http://komchadluek.net/e2548/reference/index.php?sub=06&pag=05
5.^ Asiaweek Power 50, 2000, เรียกดูเมื่อ 28 มิถุนายน 2551
6.^ เนชั่นสุดสัปดาห์ 1 เม.ย. 2542, 'ถนอม' ลาออก 'ชวน' ไม่ขอโทษ ปชป.เปรียบถนอม เทียบรัฐบุรุษปรีดี
7.^ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ในวโรกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๑)
หมายเหตุแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของรัฐบาลชวน หลีกภัยได้รับการวิพาร์กวิจารณ์ในแง่ลบจากพวกพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งฝ่ายที่วิจารณ์ วิจารณ์ว่า เปรียบประดุจการรดน้ำต้นไว้ที่ยอด ซึ่งยากที่น้ำจะซึมลงไปสู่รากได้ นอกจากนี้ ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในปี 2540 นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากวิจารณ์ว่า สาเหตุหลักเกิดจาก นโยบายเปิดเสรีทางการเงิน BIBF ที่พรรคประชาธิปัตย์นำมาใช้ในปี 2532 เป็นสาเหตุให้มีการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศเข้ามาเป็นจำนวนมาก ในรัฐบาลต่อมาจากรัฐบาลสมัยที่ 1 ในขณะที่มีการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้อย่างตายตัว ทำให้รัฐบาลชวลิตไม่มีทางเลือก และต้องลดค่าเงินบาทในปี 2540 ในช่วงปีสุดท้ายของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ภาคประชาชนต่างๆ ได้ออกมาต่อต้านอย่างรุนแรง และได้มี "คำประกาศอิสรภาพของประเทศไทย" ที่กลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง ได้จัดประชุมขึ้นที่หอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี 2544 ดังนั้น ภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ฟื้นตัว คนว่างงานจำนวนมาก คำมั่นสัญญาจากรัฐบาลว่าเศรษฐกิจกำลังฟื้น แต่เวลาได้ล่วงเลยมากว่า 3 ปีแล้วทำให้ประชาชนที่ยังไม่เข้าใจเรื่องเศษรฐกิจนัก หันไปสนับสนุนพรรคไทยรักไทย ของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรมากขึ้น จนทำให้เป็นพรรคการเมืองแรกที่ชนะเลือกตั้งถึงครึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎร (ในเบื้องต้น พรรค.ทรท.ได้ 250 ที่นั่ง เท่ากับครึ่งหนึ่งของสภาที่มีจำนวน 500 ที่นั่ง แต่ผู้สมัครถูกใบแดงไป 2 ที่นั่งจึงลดลงเหลือ 248 ที่นั่ง)
ปลายสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากไอเอ็มเอฟ ฐานะเงินคงคลัง และเงินสำรองมีมาก ถึงระดับปลอดภัย ไม่จำเป็นต้องเบิกถอนเงินสถาบัน ไอเอ็มเอฟ ที่ยังมีวงเงินเหลืออยู่ รัฐบาลได้ถอนเงิน 12000 ล้านเหรียญสหรัฐจากวงเงิน 17200 ล้านเหรียญสหรัฐ น่าจะเป็นข้ออ้างอิงว่าฐานะการเงินของประเทศในสมัยรัฐบาลนายชวนนั้น ดีขึ้นแล้ว[ต้องการอ้างอิง]
ระยะแรกของรัฐบาลนายชวน แก้ไขปัญหาด้วยการขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงตามคำแนะนำของไอเอ็มเอฟ จนทำให้ธุรกิจจำนวนมากไม่สามารถกู้และชำระหนี้ได้ และโดนล้อเลียนว่า คุณพ่อไอเอ็มเอฟ ภายหลังจึงลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลงเนื่องจากไอเอ็มเอฟออกมายอมรับว่าการขึ้นดอกเบี้ยสูงเป็นนโยบายที่ไม่ถูกต้อง
แหล่งข้อมูลอื่นคอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่น ๆ เกี่ยวกับ:
ชวน หลีกภัยวิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ:
ชวน หลีกภัยข้อมูล ชวน หลีกภัย จากเว็บไซต์รัฐบาลไทย
เว็บไซต์ส่วนตัวของ ชวน หลีกภัย
ชวน หลีกภัย ประวัติบุคคล สำนักข่าวไทย
หนังสือเย็นลมป่า ผลงานชิ้นเอกที่เขียนเรื่องและวาดรูปประกอบด้วยตนเอง บันทึกเรื่องจริง! เหตุการณ์บางเสี้ยวชีวิต ชวน หลีกภัย
สมัยก่อนหน้า  ชวน หลีกภัย  สมัยถัดไป
อานันท์ ปันยารชุน
นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (สมัยที่ 1 : ครม. 50)
(23 กันยายน พ.ศ. 2535 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538)  บรรหาร ศิลปอาชา
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ  นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (สมัยที่ 2 : ครม. 53)
(9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544)  พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
พิชัย รัตตกุล
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
พงส์ สารสิน
พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย
พลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์
รองนายกรัฐมนตรี (ครม. 45)
(29 ธันวาคม พ.ศ. 2532 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2533)  บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
โกศล ไกรฤกษ์
พลเอก มานะ รัตนโกเศศ
พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
พิชัย รัตตกุล
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
(พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2546)  บัญญัติ บรรทัดฐาน




[แสดง]ด • พ • กนายกรัฐมนตรีไทย

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา(1-3) · พระยาพหลพลพยุหเสนา(1-5) · แปลก พิบูลสงคราม(1-2) · ควง อภัยวงศ์(1) · ทวี บุณยเกตุ · เสนีย์ ปราโมช(1) · ควง อภัยวงศ์(2) ·
ปรีดี พนมยงค์(3-8) · ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(1-2) · ควง อภัยวงศ์(3-4) · แปลก พิบูลสงคราม(3-8) · พจน์ สารสิน · ถนอม กิตติขจร(1) · สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ·
ถนอม กิตติขจร(2-4) · สัญญา ธรรมศักดิ์(1-2) · เสนีย์ ปราโมช(2) · คึกฤทธิ์ ปราโมช · เสนีย์ ปราโมช(3-4) · ธานินทร์ กรัยวิเชียร · เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์(1-2) ·
เปรม ติณสูลานนท์(1-3) · ชาติชาย ชุณหะวัณ(1-2) · อานันท์ ปันยารชุน(1) · สุจินดา คราประยูร · อานันท์ ปันยารชุน(2) · ชวน หลีกภัย(1) · บรรหาร ศิลปอาชา ·
ชวลิต ยงใจยุทธ · ชวน หลีกภัย(2) · ทักษิณ ชินวัตร(1-2) · สุรยุทธ์ จุลานนท์ · สมัคร สุนทรเวช · สมชาย วงศ์สวัสดิ์ · อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ในวงเล็บ คือ สมัยที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของบุคคลนั้น

[แสดง]ด • พ • กรองนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

 อดุล อดุลเดชจรัส · ดิเรก ชัยนาม · เดือน บุนนาค · สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย · ผิน ชุณหะวัณ · มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ · นายวรการบัญชา · ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี · หลวงยุทธศาสตร์โกศล · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ประภาส จารุเสถียร · สุกิจ นิมมานเหมินท์ · ถนอม กิตติขจร · พจน์ สารสิน · ประกอบ หุตะสิงห์ · เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ · ประมาณ อดิเรกสาร · ทวิช กลิ่นประทุม · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ทวี จุลละทรัพย์ · ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ · บุญชัย บำรุงพงศ์ · อัมพร จันทรวิจิตร · สุนทร หงส์ลดารมภ์ · สมภพ โหตระกิตย์ · เสริม ณ นคร · เล็ก แนวมาลี · ถนัด คอมันตร์ · บุญชู โรจนเสถียร · ประจวบ สุนทรางกูร · ทองหยด จิตตวีระ · พิชัย รัตตกุล · สนธิ บุณยะชัย · สิทธิ เศวตศิลา · ชาติชาย ชุณหะวัณ · พงส์ สารสิน · เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ · ชวน หลีกภัย · ชวลิต ยงใจยุทธ · ประมวล สภาวสุ · สนั่น ขจรประศาสน์ · มานะ รัตนโกเศศ · อาทิตย์ กำลังเอก · บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · โกศล ไกรฤกษ์ · เสนาะ อูนากูล · เภา สารสิน · มีชัย ฤชุพันธุ์ · ณรงค์ วงศ์วรรณ · สมบุญ ระหงษ์ · มนตรี พงษ์พานิช · สมัคร สุนทรเวช · เกษม สุวรรณกุล · หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี · บัญญัติ บรรทัดฐาน · อำนวย วีรวรรณ · ศุภชัย พานิชภักดิ์ · สุขวิช รังสิตพล · จำลอง ศรีเมือง · ทักษิณ ชินวัตร · บุญพันธ์ แขวัฒนะ · กร ทัพพะรังสี · วีรพงษ์ รามางกูร · สุวิทย์ คุณกิตติ · ปัญจะ เกสรทอง · ไตรรงค์ สุวรรณคีรี · วิโรจน์ เปาอินทร์ · สุทัศน์ เงินหมื่น · เดช บุญ-หลง · ปองพล อดิเรกสาร · พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ · สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · จาตุรนต์ ฉายแสง · พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · วิษณุ เครืองาม · ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · โภคิน พลกุล · สุชาติ เชาว์วิศิษฐ · ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · วันมูหะมัดนอร์ มะทา · สุวัจน์ ลิปตพัลลภ · พินิจ จารุสมบัติ · สมศักดิ์ เทพสุทิน · ชิดชัย วรรณสถิตย์ · สุรเกียรติ์ เสถียรไทย · สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · สุชัย เจริญรัตนกุล · ปรีดิยาธร เทวกุล · โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม · สนธิ บุญยรัตกลิน · สมชาย วงศ์สวัสดิ์ · มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี · สหัส บัณฑิตกุล · โกวิท วัฒนะ · มั่น พัธโนทัย · สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · ชวรัตน์ ชาญวีรกูล · โอฬาร ไชยประวัติ · สุเทพ เทือกสุบรรณ · กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ · ยงยุทธ วิชัยดิษฐ · เฉลิม อยู่บำรุง · กิตติรัตน์ ณ ระนอง · ชุมพล ศิลปอาชา · ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
 

[แสดง]ด • พ • กประธานสภาผู้แทนราษฎร และสภานิติบัญญัติของประเทศไทย

 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี * · เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) * · เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ! · พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ! · เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ ! · พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) ! · พระยาศรยุทธเสนี ! · พระยามานวราชเสวี ! · เกษม บุญศรี ! · พึ่ง ศรีจันทร์ † · พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ราชธรรมนิเทศ) ! · พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) † · หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) † · พระประจนปัจจนึก ! · หลวงสุทธิสารรณกร † · ทวี บุณยเกตุ † · ศิริ สิริโยธิน ! · ศิริ สิริโยธิน † · คึกฤทธิ์ ปราโมช * · ประภาศน์ อวยชัย * · ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · กมล เดชะตุงคะ † · หะริน หงสกุล † · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · ชวน หลีกภัย ! · ปัญจะ เกสรทอง ! · อุกฤษ มงคลนาวิน † · อาทิตย์ อุไรรัตน์ † · มารุต บุนนาค ! · บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ! · วันมูหะมัดนอร์ มะทา ! · พิชัย รัตตกุล ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · โภคิน พลกุล ! · มีชัย ฤชุพันธุ์ † · ยงยุทธ ติยะไพรัช ! · ชัย ชิดชอบ ! · สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ !

--------------------------------------------------------------------------------
(รองประธานสภา) พระยาอินทรวิชิต · พระยาศรยุทธเสนี · พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · พระเรี่ยมวิรัชชพากย์ (เรี่ยม ทรรทรานนท์) · พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) · พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) · ฟื้น สุพรรณสาร · เลื่อน บุนนาค · มงคล รัตนวิจิตร · พระราชธรรมนิเทศ · พระยาอานุภาพไตรภพ · ขุนคงฤทธิศึกษากร · ขุนวิวรณ์สุขวิทยา · น้อม อุปรมัย · จงกล ไกรฤกษ์ · ปรุง รังสิยานนท์ · สัญญา ธรรมศักดิ์ · ประสิทธิ์ จุลละเกศ · ประมวล กุลมาตย์ · มงคล สุคนธขจร · เทียม ไชยนันทน์ · สอาด ปียวรรณ · สมรรค ศิริจันทร์ · ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ · ชุมพล ศิลปอาชา · ใหม่ ศิรินวกุล · ธนา เมตตาริกานนท์ · ไสว พัฒโน · เชาวน์วัศ สุดลาภา · วันมูหะมัดนอร์ มะทา · ถวิล ไพรสณฑ์ · จรัส พั้วช่วย · เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย · กริช กงเพชร · สุธรรม แสงประทุม · ธำรงค์ ไทยมงคล · โสภณ เพชรสว่าง · สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · บุญชง วีสมหมาย · สุชาติ ตันเจริญ · ลลิตา ฤกษ์สำราญ · อภิวันท์ วิริยะชัย · สามารถ แก้วมีชัย · เจริญ จรรย์โกมล · วิสุทธิ์ ไชยณรุณ

หมายเหตุ: † รัฐประหาร, * แต่งตั้ง,  ! เลือกตั้ง

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์

กลาโหม ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • ถวิล รายนานนท์ • อุสาห์ ชัยนาม

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ประมุท บุรณศิริ

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ สวัสดิ์ คำประกอบ • ไกรสร ตันติพงศ์ • สมัคร สุนทรเวช • แผน สิริเวชชะพันธ์

คมนาคม สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • อุทัย พิมพ์ใจชน • สมศาสตร์ รัตนสัค

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • ประเทือง คำประกอบ

มหาดไทย อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร • ธรรมนูญ เทียนเงิน • สมบุญ ศิริธร • สันต์ เทพมณี

ยุติธรรม เทียม ไชยนันท์ • ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ • ขุนทอง ภูผิวเงิน

สาธารณสุข คล้าย ละอองมณี

อุตสาหกรรม นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

ทบวงมหาวิทยาลัย เกษม สุวรรณกุล

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทวี จุลละทรัพย์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • ชวน หลีกภัย

กลาโหม กฤษณ์ สีวะรา • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทินกร พันธุ์กระวี

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ ประมาณ อดิเรกสาร • ไกรสร ตันติพงศ์ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

คมนาคม ทวิช กลิ่นประทุม • บุญเกิด หิรัญคำ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • คล้าย ละอองมณี

มหาดไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ขุนทอง ภูผิวเดือน • สมัคร สุนทรเวช • สมบุญ ศิริธร • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์

ยุติธรรม ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ศิริ สิริโยธิน • สิดดก สารีฟ • ดาบชัย อัคราช

สาธารณสุข ทวี จุลละทรัพย์ • ปรีชา มุสิกุล

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • แผน สิริเวชชะพันธ์ • บรรหาร ศิลปอาชา

ทบวงมหาวิทยาลัย นิพนธ์ ศศิธร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทวี จุลละทรัพย์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

กลาโหม สงัด ชลออยู่ • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทินกร พันธุ์กระวี

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ ประมาณ อดิเรกสาร • ไกรสร ตันติพงศ์ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

คมนาคม ทวิช กลิ่นประทุม • บุญเกิด หิรัญคำ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • คล้าย ละอองมณี

มหาดไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ขุนทอง ภูผิวเดือน • แผน สิริเวชชะพันธ์ • ดาบชัย อัคราช

ยุติธรรม ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ศิริ สิริโยธิน • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์ • สิดดก สารีฟ

สาธารณสุข ทวี จุลละทรัพย์ • ปรีชา มุสิกุล

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • บรรหาร ศิลปอาชา

ทบวงมหาวิทยาลัย นิพนธ์ ศศิธร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 42 ของไทย

นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสริม ณ นคร • ถนัด คอมันตร์ • บุญชู โรจนเสถียร • ประจวบ สุนทรางกูร • ทองหยด จิตตวีระ

สำนักนายกรัฐมนตรี สมศักดิ์ ชูโต • มีชัย ฤชุพันธุ์ • บุญยงค์ วัฒนพงศ์ • ชาญ อังศุโชติ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • สุตสาย หัสดิน • ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม

กลาโหม เปรม ติณสูลานนท์ • กวี สิงหะ • พะเนียง กานตรัตน์ • สมุทร สหนาวิน

การคลัง อำนวย วีรวรรณ • สมหมาย ฮุนตระกูล • บรม ตันเถียร • ไพจิตร เอื้อทวีกุล • สุธี สิงห์เสน่ห์

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • อรุณ ภาณุพงศ์

เกษตรและสหกรณ์ บรรหาร ศิลปอาชา • อาณัติ อาภาภิรม • ชวน หลีกภัย • อาณัติ อาภาภิรม • ปุณมี ปุณศรี • กฤช สังขทรัพย์ • โกศล ไกรฤกษ์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • วีระ มุสิกพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • ปรีดา พัฒนถาบุตร

คมนาคม อมร ศิริกายะ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • ทินกร พันธุ์กระวี • ยศ อินทรโกมาลย์สุต • ชาญ มนูธรรม • ชุมพล ศิลปอาชา • วีระ มุสิกพงศ์ • มนตรี พงษ์พานิช

พาณิชย์ ตามใจ ขำภโต • ชวน หลีกภัย • ปุณมี ปุณศรี • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • ไพโรจน์ ไชยพร • ประกายพฤกษ์ ศรุตานน์ • ทวี ไกรคุปต์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์

มหาดไทย ประเทือง กีรติบุตร • สิทธิ จิรโรจน์ • เกษม ศิริสัมพันธ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • สมุทร สหนาวิน • วิเชียร เวชสวรรค์ • โกศล ไกรฤกษ์

ยุติธรรม ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค

วิทยาศาสตร์ฯ อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • ทินกร พันธุ์กระวี

ศึกษาธิการ สิปปนนท์ เกตุทัต • เกษม ศิริสัมพันธ์ • ขุนทอง ภูผิวเดือน

สาธารณสุข ทองหยด จิตตวีระ • เสม พริ้งพวงแก้ว • อำพัน หิรัญโชติ • อำนวย ยศสุข

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • โกศล ไกรฤกษ์ • ไกรสร ตันติพงศ์ • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ • บรม ตันเถียร

ทบวงมหาวิทยาลัย เกษม สุวรรณกุล

โฆษกประจำสำนักนายกฯ สมศักดิ์ ชูโต

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 ของไทย

นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์

รองนายกรัฐมนตรี ประจวบ สุนทรางกูร • บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ • พิชัย รัตตกุล • สนธิ บุณยะชัย • สิทธิ เศวตศิลา

สำนักนายกรัฐมนตรี ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม • มีชัย ฤชุพันธุ์ • กระมล ทองธรรมชาติ • สวัสดิ์ คำประกอบ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน

กลาโหม เปรม ติณสูลานนท์ • พะเนียง กานตรัตน์

การคลัง สมหมาย ฮุนตระกูล • สุธี สิงห์เสน่ห์ • อำนวย ยศสุข • สุบิน ปิ่นขยัน

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • ประพาส ลิมปะพันธ์ • อรุณ ภาณุพงศ์

เกษตรและสหกรณ์ ณรงค์ วงศ์วรรณ • บรม ตันเถียร • ประยุทธ ศิริพาณิชย์ • ผัน บุญชิต • ประสพ บุษราคัม

คมนาคม สมัคร สุนทรเวช • บุญเทียม เขมาภิรัตน์ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ โกศล ไกรฤกษ์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • ไพโรจน์ ไชยพร • ประยูร จินดาศิลป์ • อำนวย ยศสุข

มหาดไทย สิทธิ จิรโรจน์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • วีระ มุสิกพงศ์ • เฉลียว วัชรพุกก์ • โอภาส พลศิลป • มนตรี พงษ์พานิช

ยุติธรรม พิภพ อะสีติรัตน์

วิทยาศาสตร์ฯ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • เล็ก นานา

ศึกษาธิการ ชวน หลีกภัย • สัมพันธ์ ทองสมัคร

สาธารณสุข มารุต บุนนาค • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์

อุตสาหกรรม อบ วสุรัตน์ • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • วงศ์ พลนิกร • ประโยชน์ เนื่องจำนงค์ • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • อนันต์ ฉายแสง • มีชัย วีระไวทยะ

ทบวงมหาวิทยาลัย ปรีดา พัฒนถาบุตร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 45 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ

รองนายกรัฐมนตรี พงส์ สารสิน • พิชัย รัตตกุล • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • ชวน หลีกภัย • ชวลิต ยงใจยุทธ • ประมวล สภาวสุ • สนั่น ขจรประศาสน์ • มานะ รัตนโกเศศ • ทองหยด จิตตวีระ • อาทิตย์ กำลังเอก

สำนักนายกรัฐมนตรี มีชัย ฤชุพันธุ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • กร ทัพพะรังสี • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • สุพัตรา มาศดิตถ์ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • เฉลิม อยู่บำรุง • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม

กลาโหม ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวลิต ยงใจยุทธ • ชาติชาย ชุณหะวัณ

การคลัง ประมวล สภาวสุ • วีรพงษ์ รามางกูร • สุชน ชามพูนท • นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • สุบิน ปิ่นขยัน • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • อำนวย ยศสุข

เกษตรและสหกรณ์ สนั่น ขจรประศาสน์ • ชวน หลีกภัย • เจริญ คันธวงศ์ • อุดมศักดิ์ ทั่งทอง • อุดร ตันติสุนทร • ประยุทธิ์ ศิริพาณิชย์ • สุทัศน์ เงินหมื่น

คมนาคม มนตรี พงษ์พานิช • นิคม แสนเจริญ • ประทวน รมยานนท์ • เอนก ทับสุวรรณ • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

พาณิชย์ สุบิน ปิ่นขยัน • อมเรศ ศิลาอ่อน • ภิญญา ช่วยปลอด • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • เจี่ย ก๊กผล

มหาดไทย ประมาณ อดิเรกสาร • บรรหาร ศิลปอาชา • สันติ ชัยวิรัตนะ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • วัฒนา อัศวเหม • วสิษฐ เดชกุญชร

ยุติธรรม จำรัส มังคลารัตน์

วิทยาศาสตร์ฯ ประจวบ ไชยสาส์น • เจริญ คันธวงศ์

ศึกษาธิการ มานะ รัตนโกเศศ • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • สกุล ศรีพรหม • ใหม่ ศิรินวกุล • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ประยูร สุรนิวงศ์ • เฉลิม อยู่บำรุง

สาธารณสุข ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค • ประจวบ ไชยสาส์น • สุทัศน์ เงินหมื่น • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • เอนก ทับสุวรรณ

อุตสาหกรรม บรรหาร ศิลปอาชา • ประมาณ อดิเรกสาร • ดุสิต รังคสิริ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • สมาน ภุมมะกาญจนะ

ทบวงมหาวิทยาลัย ทวิช กลิ่นประทุม • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

โฆษกประจำสำนักนายกฯ สุวิทย์ ยอดมณี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย

รองนายกรัฐมนตรี บัญญัติ บรรทัดฐาน • อำนวย วีรวรรณ • บุญชู โรจนเสถียร • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ชวลิต ยงใจยุทธ • สุขวิช รังสิตพล • จำลอง ศรีเมือง (ขณะรักษาการ) • อาทิตย์ กำลังเอก

สำนักนายกรัฐมนตรี เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ • ชินวุธ สุนทรสีมะ • พิมพา จันทร์ประสงค์ (ขณะรักษาการ) • กร ทัพพะรังสี • ปัญจะ เกสรทอง

กลาโหม วิจิตร สุขมาก • สมบัติ รอดโพธิ์ทอง • โรช วิภัติภูมิประเทศ (ขณะรักษาการ)

การคลัง ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • บุญชู ตรีทอง • อำนวย ปะติเส • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

การต่างประเทศ ประสงค์ สุ่นศิริ • ทักษิณ ชินวัตร • กระแส ชนะวงศ์ (ขณะรักษาการ) • สุรินทร์ พิศสุวรรณ

เกษตรและสหกรณ์ นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • สุเทพ เทือกสุบรรณ • สวัสดิ์ สืบสายพรหม • ถวิล จันทร์ประสงค์ • สมุทร มงคลกิติ (ขณะรักษาการ) • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์

คมนาคม วินัย สมพงษ์ • วิชิต สุรพงษ์ชัย (ขณะรักษาการ) • จรัส พั้วช่วย • ไสว พัฒโน • ทวี ไกรคุปต์ • สมศักดิ์ เทพสุทิน • เอนก ทับสุวรรณ • พินิจ จารุสมบัติ • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (ขณะรักษาการ) • เดช บุญ-หลง

พาณิชย์ อุทัย พิมพ์ใจชน • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • ฉัตรชัย เอียสกุล • กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

มหาดไทย ชวลิต ยงใจยุทธ • สนั่น ขจรประศาสน์ • เด่น โต๊ะมีนา • สุทัศน์ เงินหมื่น • ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ • เชาวน์วัศ สุดลาภา • อุดร ตันติสุนทร (ขณะรักษาการ) • วันมูหะมัดนอร์ มะทา • ไพโรจน์ โลห์สุนทร

ยุติธรรม สุวิทย์ คุณกิตติ • ไสว พัฒโน

แรงงานฯ ชวลิต ยงใจยุทธ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เสริมศักดิ์ การุญ • ยุทธ อังกินันทน์

วิทยาศาสตร์ฯ พิศาล มูลศาสตรสาทร • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • ปรีชา มุสิกุล

ศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร • ปราโมทย์ สุขุม • สังข์ทอง ศรีธเรศ • อดิศร เพียงเกษ • สฤต สันติเมทนีดล (ขณะรักษาการ) • กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ • เจริญ คันธวงศ์

สาธารณสุข บุญพันธ์ แขวัฒนะ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • รักเกียรติ สุขธนะ • เอนก ทับสุวรรณ • อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม • เตือนใจ นุอุปละ • ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ (ขณะรักษาการ)

อุตสาหกรรม สนั่น ขจรประศาสน์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี' • พรเทพ เตชะไพบูลย์ • เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ • ประเทือง คำประกอบ

ทบวงมหาวิทยาลัย สุเทพ อัตถากร • กระแส ชนะวงศ์ • ถวิล ไพรสณฑ์ (ขณะรักษาการ)

โฆษกประจำสำนักนายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • อรรคพล สรสุชาติ • มนตรี ด่านไพบูลย์ • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • ธำรงค์ ไทยมงคล • วิทยา แก้วภราดัย

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย

รองนายกรัฐมนตรี พิชัย รัตตกุล • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ปัญจะ เกสรทอง • สุวิทย์ คุณกิตติ • กร ทัพพะรังสี • สนั่น ขจรประศาสน์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • บัญญัติ บรรทัดฐาน • วิโรจน์ เปาอินทร์ • สุทัศน์ เงินหมื่น

สำนักนายกรัฐมนตรี สุพัตรา มาศดิตถ์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมบุญ ระหงษ์ • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • ปวีณา หงสกุล • ภิญโญ นิโรจน์ • อดิศัย โพธารามิก (ขณะรักษาการ)

กลาโหม ชวน หลีกภัย • วัฒนชัย วุฒิศิริ

การคลัง ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ • พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล • พิสิฐ ลี้อาธรรม

การต่างประเทศ สุรินทร์ พิศสุวรรณ • หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

เกษตรและสหกรณ์ ปองพล อดิเรกสาร · ประภัตร โพธสุธน • วิรัช รัตนเศรษฐ • สมชาย สุนทรวัฒน์ • เนวิน ชิดชอบ • อนุรักษ์ จุรีมาศ • อาคม เอ่งฉ้วน • ประภัตร โพธสุธน

คมนาคม สุเทพ เทือกสุบรรณ • ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ • สนธยา คุณปลื้ม • เผดิมชัย สะสมทรัพย์ • โชคสมาน สีลาวงษ์ • อิทธิ ศิริลัทธยากร • ไชยา สะสมทรัพย์ • จองชัย เที่ยงธรรม

พาณิชย์ ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • โพธิพงษ์ ล่ำซำ • ประวิช รัตนเพียร • กรพจน์ อัศวินวิจิตร • รักษ์ ตันติสุนทร

มหาดไทย สนั่น ขจรประศาสน์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ • วัฒนา อัศวเหม • ประภัตร โพธสุธน • พินิจ จารุสมบัติ • สนธยา คุณปลื้ม

ยุติธรรม สุทัศน์ เงินหมื่น

แรงงานฯ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • วุฒิ สุโกศล • ประชา พรหมนอก • จองชัย เที่ยงธรรม • ประกอบ สังข์โต • ปวีณา หงสกุล • อนุสรณ์ วงศ์วรรณ • ประยุทธ์ ศิริพานิชย์

วิทยาศาสตร์ฯ ยิ่งพันธ์ มนะสิการ • สุวิทย์ คุณกิตติ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • พรเทพ เตชะไพบูลย์ • ระวี หิรัญโชติ

ศึกษาธิการ ชุมพล ศิลปอาชา • ปัญจะ เกสรทอง • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • อาคม เอ่งฉ้วน • ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (ขณะรักษาการ) • กัญจนา ศิลปอาชา • วิชัย ตันศิริ

สาธารณสุข รักเกียรติ สุขธนะ • กร ทัพพะรังสี • ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ • คำรณ ณ ลำพูน • เดชา สุขารมณ์

อุตสาหกรรม สมศักดิ์ เทพสุทิน • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • พลกฤษณ์ หงษ์ทอง • อนุรักษ์ จุรีมาศ • ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ • สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ • วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

ทบวงมหาวิทยาลัย เดชา สุขารมณ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • สุชน ชามพูนท (ขณะรักษาการ)

โฆษกประจำสำนักนายกฯ อรรคพล สรสุชาติ • สมชาย สหชัยรุ่งเรือง • สาคร พรหมภักดี • ปาน พึ่งสุจริต • รัตนา จงสุทธนามณี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กเสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

[แสดง] สมุหพระกลาโหม

เจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) • เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) • เจ้าพระยามหาเสนา (ปิ่น) • เจ้าพระยามหาเสนา (บุญมา) • เจ้าพระยาวรวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) • เจ้าพระยามหาเสนา (สังข์) • เจ้าพระยามหาเสนา (น้อย) • สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) • สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) • เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) • เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยันต์)
 


[แสดง] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช • เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) • เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร • พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) • พระยาประเสริฐสงคราม



[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) • พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) • พระยาประเสริฐสงคราม • แปลก พิบูลสงคราม • มังกร พรหมโยธี • หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) • สินธุ์ กมลนาวิน • ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ์ • จิร วิชิตสงคราม • หลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ) • สฤษดิ์ ธนะรัชต์ • ถนอม กิตติขจร • ทวี จุลละทรัพย์ • ครวญ สุทธานินทร์ • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • ประมาณ อดิเรกสาร • กฤษณ์ สีวะรา • เสนีย์ ปราโมช • สงัด ชลออยู่ • เล็ก แนวมาลี • เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ • เปรม ติณสูลานนท์ • พะเนียง กานตรัตน์ • ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวลิต ยงใจยุทธ • ประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ • สุจินดา คราประยูร • บรรจบ บุนนาค • วิจิตร สุขมาก • ชวน หลีกภัย • ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา • เชษฐา ฐานะจาโร • สัมพันธ์ บุญญานันต์ • บุญรอด สมทัศน์ • สมัคร สุนทรเวช • สมชาย วงศ์สวัสดิ์ • ประวิตร วงษ์สุวรรณ • ยุทธศักดิ์ ศศิประภา • สุกำพล สุวรรณทัต
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงพรหมโยธี • หลวงเสรีเริงฤทธิ์ • พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต • สวัสดิ์ สวัสดิ์รณรงค์ • ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ • จิระ วิชิตสงคราม • สังวรณ์ สุวรรณชีพ • หลวงเทวฤทธิพันลึก • ทวน วิชัยขัทคะ • ทวน วิชัยขัทคะ • น้อม เกตุนุติ • พระยาวิชิตชลธี • หลวงสินธาวณัติก์ • ปลด พิบูลภาณุวัฒน์ • หลวงสุนาวินวิวัฒ • สฤษดิ์ ธนะรัชต์ • ผิน ชุณหะวัณ • ถนอม กิตติขจร • บุญชู จันทรุเบกษา • สนอง ธนศักดิ์ • ทวี จุลละทรัพย์ • จิตติ นาวีเสถียร • กฤษณ์ สีวะรา • ถวิล รายนานนท์ • สุรกิจ มัยลาภ • บัว ศิริทรัพย์ • อุสาห์ ชัยนาม • กมล สีตะกลิน • ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ • เล็ก แนวมาลี • ประสงค์ คุณะดิลก • ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา • อมร ศิริกายะ • กวี สิงหะ • พะเนียง กานตรัตน์ • สมุทร สหนาวิน • อาทิตย์ กำลังเอก • วิมล วงศ์วานิช • พิศิษฐ์ ศาลิคุปต์ • ชัชชม กันหลง • สมบัติ รอดโพธิ์ทอง • โรช วิภัติภูมิประเทศ • วิโรจน์ แสงสนิท • วัฒนชัย วุฒิศิริ • ยุทธศักดิ์ ศศิประภา


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงธรรมการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

[แสดง] เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (พ.ศ. 2435 - พ.ศ. 2475)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) • พระยาวุฒิการบดี (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) • พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) • พระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต
 


[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ (พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2484)

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) • พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) • พระสารสาสน์ประพันธ์ • สินธุ์ กมลนาวิน



[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2485 - ปัจจุบัน)

แปลก พิบูลสงคราม • ประยูร ภมรมนตรี • ทวี บุณยเกตุ • พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) • เดือน บุนนาค • พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • มังกร พรหมโยธี • สวัสดิ์ ส. สวัสดิเกียรติ • เลียง ไชยกาล • มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล • สุกิจ นิมมานเหมินท์ • อภัย จันทวิมล • เกรียง กีรติกร • ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ • นิพนธ์ ศศิธร • ประชุม รัตนเพียร • ศิริ สิริโยธิน • ภิญโญ สาธร • บุญสม มาร์ติน • สิปปนนท์ เกตุทัต • เกษม ศิริสัมพันธ์ • ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค • มานะ รัตนโกเศศ • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • สมบุญ ระหงษ์ • สัมพันธ์ ทองสมัคร • สุขวิช รังสิตพล • ชิงชัย มงคลธรรม • ชุมพล ศิลปอาชา • ปัญจะ เกสรทอง • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • เกษม วัฒนชัย • ทักษิณ ชินวัตร • สุวิทย์ คุณกิตติ • ปองพล อดิเรกสาร • อดิศัย โพธารามิก • จาตุรนต์ ฉายแสง • วิจิตร ศรีสอ้าน • สมชาย วงศ์สวัสดิ์ • ศรีเมือง เจริญศิริ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ชินวรณ์ บุณยเกียรติ • วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล • สุชาติ ธาดาธำรงเวช
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (ควง อภัยวงศ์) • ประยูร ภมรมนตรี • หลวงศุภชลาศัย • เดือน บุนนาค • วิโรจน์ กมลพันธ์ • ขุนคงฤทธิศึกษากร • สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ • หลวงเชิดวุฒากาศ • เฉลิม พงศ์สวัสดิ์ • เผชิญ นิมิบุตร • ทิม ภูริพัฒน์ • กฤษณ์ สีวะรา • อภัย จันทวิมล • บุญสม มาร์ติน • หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ • ก่อ สวัสดิพาณิชย์ • ขุนทอง ภูผิวเดือน • ประเสริฐ บุญสม • สุวรรณ ธนกัญญา • ปัญจะ เกสรทอง • สิดดิก สารีฟ • ดาบชัย อัคราช • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์ • ยุพา อุดมศักดิ์ • สิปปนนท์ เกตุทัต • ขุนทอง ภูผิวเดือน • สัมพันธ์ ทองสมัคร • มานะ รัตนโกเศศ • สกุล ศรีพรหม • ใหม่ ศิรินวกุล • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ประยูร สุรนิวงศ์ • เฉลิม อยู่บำรุง • บุญถึง ผลพานิชย์ • สมชัย วุฑฒิปรีชา • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ไพโรจน์ เครือรัตน์ • เงิน บุญสุภา • ปราโมทย์ สุขุม • สังข์ทอง ศรีธเรศ • อดิศร เพียงเกษ • สฤต สันติเมทนีดล • กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ • เจริญ คันธวงศ์ • ชิงชัย มงคลธรรม • เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ • สุรพร ดนัยตั้งตระกูล • จำลอง ครุฑขุนทด • อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ • วุฒิ สุโกศล • พจน์ สะเพียรชัย • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • อาคม เอ่งฉ้วน • ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร • กัญจนา ศิลปอาชา • วิชัย ตันศิริ • สิริกร มณีรินทร์ • สุธรรม แสงประทุม • อารีย์ วงศ์อารยะ • รุ่ง แก้วแดง • วรากรณ์ สามโกเศศ • บุญลือ ประเสริฐโสภา • พงศกร อรรณนพพร • ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ • นริศรา ชวาลตันพิพัทธ์ • ไชยยศ จิรเมธากร • บุญรื่น ศรีธเรศ • สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล • ศักดา คงเพชร


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ของไทย

[แสดง] เสนาบดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ • เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์) • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี
 


[แสดง] รัฐมนตรีว่าการ

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี • พระยานิติศาสตร์ไพศาล (วัน จามรมาน) • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ • ดิเรก ชัยนาม • พระยานลราชวสุวัจน์ (ทองดี นลราชสุวัจน์) • หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) • เสนีย์ ปราโมช • พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) • พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน) • เลียง ไชยกาล • เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ • พระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์) • หลวงจำรูญเนติศาสตร์ (จำรูญ โปษยานนท์) • กมล วรรณประภา • ประกอบ หุตะสิงห์ • กิตติ สีหนนท์ • เทียม ไชยนันท์ • ใหญ่ ศวิตชาต • บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชวน หลีกภัย • เสมา รัตนมาลัย • สุธรรม ภัทราคม • มารุต บุนนาค • พิภพ อะสีติรัตน์ • สะอาด ปิยวรรณ • จำรัส มังคลารัตน์ • อุทัย พิมพ์ใจชน • ประภาศน์ อวยชัย • สวัสดิ์ คำประกอบ • วิเชียร วัฒนคุณ • สุวิทย์ คุณกิตติ • ไสว พัฒโน • เฉลิม อยู่บำรุง • สุทัศน์ เงินหมื่น • พงศ์เทพ เทพกาญจนา • จาตุรนต์ ฉายแสง • ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • ชิดชัย วรรณสถิตย์ • ชาญชัย ลิขิตจิตถะ • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ • พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค • ประชา พรหมนอก
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญนิติเกษตร • เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ • หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) • เลียง ไชยกาล • อัมพร จินตกานนท์ • สมภพ โหตระกิตย์ • ชวน หลีกภัย • บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ กระทรวงเศรษฐการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ของไทย

[แสดง] กระทรวงเกษตรพาณิชยการ (2475 - 2476)

พระยาวงษานุประพัทธ
 


[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2476 - 2484)

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) • พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สารสาส) • พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) • พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญยุทธศิลป์ • หลวงเสรีเริงฤทธิ์



[แสดง] กระทรวงเศรษฐกิจ (2484 - 2485)

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • สินธุ์ กมลนาวิน • หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญนิติเกษตร • หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์



[แสดง] กระทรวงพาณิชย์ (2485 - 2495)

หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) • ควง อภัยวงศ์ • หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ • หลวงศุภชลาศัย • หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ • มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ • วิลาศ โอสถานนท์ • เดือน บุนนาค • พระยามไหสวรรย์ (กวย สมบัติศิริ) • หลวงวิจิตรวาทการ
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ • กอ มไหสวรรย์ สมบัติศิริ • เดือน บุนนาค • จำลอง ดาวเรือง • หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช • เทพ โชตินุชิต • ศิริ สิริโยธิน



[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2495 - 2514)

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) • แปลก พิบูลสงคราม • ศิริ สิริโยธิน • เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • สุกิจ นิมมานเหมินท์ • สุนทร หงส์ลดารมภ์ • เกษม ศรีพยัตฆ์ • พจน์ สารสิน • บุญชนะ อัตถากร
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ศิริ สิริโยธิน • สุรพงษ์ ตรีรัตน์ • จิตติ นาวีเสถียร • พิชัย กุลละวณิชย์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์



[แสดง] กระทรวงพาณิชย์ (2515 - ปัจจุบัน)

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชาญชัย ลี้ถาวร • วิจารณ์ นิวาตวงศ์ • ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • ทองหยด จิตตวีระ • สุธี นาทวรทัต • นาม พูนวัตถุ • อบ วสุรัตน์ • ตามใจ ขำภโต • ปุนมี ปุณศรี • ชวน หลีกภัย • โกศล ไกรฤกษ์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • มนตรี พงษ์พานิช • สุบิน ปิ่นขยัน • อมเรศ ศิลาอ่อน • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • อุทัย พิมพ์ใจชน • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ณรงค์ชัย อัครเศรณี • สม จาตุศรีพิทักษ์ • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • อดิศัย โพธารามิก • วัฒนา เมืองสุข • ทนง พิทยะ • สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ • เกริกไกร จีระแพทย์ • มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ • ไชยา สะสมทรัพย์ • พรทิวา นาคาศัย • กิตติรัตน์ ณ ระนอง • บุญทรง เตริยาภิรมย์
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) โอสถ โกศิน • จรูญ ศรีบุญเรือง • ประสงค์ สุขุม • ประเทือง คำประกอบ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • ธเนศ เอียสกุล • คล้าย ละอองมณี • ปรก อัมระนันทน์ • จุมพล ธรรมจารีย์ • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • ไพโรจน์ ไชยพร • ประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์ • ทวี ไกรคุปต์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • ประยูร จินดาศิลป์ • อำนวย ยศสุข • ประจวบ ไชยสาส์น • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ภิญญา ช่วยปลอด • เจี่ย ก๊กผล • จำนงค์ โพธิสาโร • หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล • สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ • พวงเล็ก บุญเชียง • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • ฉัตรชัย เอียสกุล • กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ • ไพโรจน์ สุวรรณฉวี • มนตรี ด่านไพบูลย์ • อำนวย ยศสุข • สุคนธ์ กาญจนาลัย • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • สมพร อัศวเหม • วิชัย ชัยจิตวณิชกุล • พจน์ วิเทตยนตรกิจ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • โพธิพงษ์ ล่ำซำ • ประวิช รัตนเพียร • กรพจน์ อัศวินวิจิตร • รักษ์ ตันติสุนทร • สุวรรณ วลัยเสถียร • เนวิน ชิดชอบ • วัฒนา เมืองสุข • พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล • อนุทิน ชาญวีรกูล • สุริยา ลาภวิสุทธิสิน • ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ • อรนุช โอสถานนท์ • วิรุฬ เตชะไพบูลย์ • บรรยิน ตั้งภากรณ์ • พิเชษฐ์ ตันเจริญ • สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ • อลงกรณ์ พลบุตร • ภูมิ สาระผล • ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ กระทรวงเกษตราธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ของไทย

[แสดง] เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ (2435 - 2474)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ • เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) • เจ้าพระยาพลเทพ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ • เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) • เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)
 


[แสดง] กระทรวงเกษตรพาณิชยการ (2475 - 2476)

พระยาวงษานุประพัทธ



[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2476 - 2478)

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) • พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สารสาส) • พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) • พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ)



[แสดง] กระทรวงเกษตราธิการ (2478 - 2495)

พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) • พระยาฤทธิอัคเณย์ (สละ เอมะศิริ) • พระยาพหลพลพยุหเสนา • พระเวชยันต์รังสฤษฎ์ • หลวงเดชสหกรณ์ • สินธุ์ กมลนาวิน • ทวี บุณยเกตุ • พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) • พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) • จรูญ สืบแสง • ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม • ควง อภัยวงศ์ • หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร • พระยาพนานุจร (เปล่ง สาครบุตร) • พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) • เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงศุภชลาศัย • หลวงเดชสหกรณ์ • อุทัย แสงมณี • เยื้อน พาณิชวิทย์ • น้อม เกตุนุติ • ฟื้น สุพรรณสาร • เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา • ละม้าย อุทยานานนท์



[แสดง] กระทรวงสหกรณ์ (2495 - 2506)

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) • ศิริ สิริโยธิน • แปลก พิบูลสงคราม • วิบูลย์ ธรรมบุตร • พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ละม้าย อุทยานานนท์ • ศิริ สิริโยธิน • เดช เดชประดิยุทธ • ถนอม กิตติขจร • ยศ อินทรโกมาลย์สุต • ชลอ จารุกลัส • อารีย์ ตันติเวชกุล



[แสดง] กระทรวงเกษตร (2495 - 2514)

หลวงสุนาวินวิวัฒ (พิศาล สุนาวิน) • ผิน ชุณหะวัณ • วิบูลย์ ธรรมบุตร • สวัสดิ์ มหาผล • สุรจิตร จารุเศรณี • พระประกาศสหกรณ์ • หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ละม้าย อุทยานานนท์ • เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร • กฤช ปุณณกันต์ • ชื่น ระวิวรรณ • จิตติ นาวีเสถียร • มนูญ บริสุทธิ์



[แสดง] กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2515 - ปัจจุบัน)

ทวี จุลละทรัพย์ • หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ • สวัสดิ์ คำประกอบ • ทวิช กลิ่นประทุม • ประมาณ อดิเรกสาร • อินทรีย์ จันทรสถิตย์ • ปรีดา กรรณสูต • เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ • บรรหาร ศิลปอาชา • อาณัติ อาภาภิรม • ชวน หลีกภัย • ณรงค์ วงศ์วรรณ • หาญ ลีนานนท์ • สนั่น ขจรประศาสน์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • พินิจ จันทรสุรินทร์ • โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ • นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • มนตรี พงษ์พานิช • สุวิทย์ คุณกิตติ • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ปองพล อดิเรกสาร • ประภัตร โพธสุธน • สรอรรถ กลิ่นประทุม • สมศักดิ์ เทพสุทิน • วันมูหะมัดนอร์ มะทา • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • ธีระ สูตะบุตร • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • ธีระ วงศ์สมุทร
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) พิชัย กุลละวณิชย์ • แสวง กุลทองคำ • เถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์ • พันธุ์เลิศ บูรณะศิลปิน • ไกรสร ตันติพงศ์ • สมัคร สุนทรเวช • แผน สิริเวชชะพันธ์ • ดาบชัย อัคราช • อนันต์ ฉายแสง • บุญส่ง สมใจ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • อาภรณ์ ศรีพิพัฒน์ • ทำนอง สิงคาลวณิช • วงศ์ พลนิกร • สง่า กิตติขจร • ระพี สาคริก • ปรีดา กรรณสูต • อาณัติ อาภาภิรม • ปุณมี ปุณศรี • กฤช สังขทรัพย์ • โกศล ไกรฤกษ์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • วีระ มุสิกพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • ปรีดา พัฒนถาบุตร • บรม ตันเถียร • ประยุทธ์ ศิริพาณิชย์ • ผัน บุญชิต • ประสพ บุษราคัม • สุเทพ เทือกสุบรรณ • เสนาะ เทียนทอง • ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ • เจริญ คันธวงศ์ • อุดมศักดิ์ ทั่งทอง • อุดร ตันติสุนทร • สุทัศน์ เงินหมื่น • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • วโรทัย ภิญญสาสน์ • อาชว์ เตาลานนท์ • โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ • สันติ ชัยวิรัตนะ • ยุทธ อังกินันทน์ • วโรทัย ภิญญสาสน์ • อำพล เสนาณรงค์ • สุเทพ เทือกสุบรรณ • สวัสดิ์ สืบสายพรหม • ถวิล จันทร์ประสงค์ • สมุทร มงคลกิติ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • สุวิทย์ คุณกิตติ • ชาญชัย ปทุมารักษ์ • ฉัตรชัย เอียสกุล • มณฑล ไกรวัฒนุสสรณ์ • รักเกียรติ สุขธนะ • กริช กงเพชร • สำเภา ประจวบเหมาะ • ประวัฒน์ อุตตะโมต • ปองพล อดิเรกสาร • วิรัช รัตนเศรษฐ • สมชาย สุนทรวัฒน์ • เนวิน ชิดชอบ • อนุรักษ์ จุรีมาศ • อาคม เอ่งฉ้วน • ประภัตร โพธสุธน • ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ • นที ขลิบทอง • อดิศร เพียงเกษ • รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา • ธีระชัย แสนแก้ว • สมพัฒน์ แก้วพิจิตร • ชาติชาย พุคยาภรณ์ • ศุภชัย โพธิ์สุ • พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ • ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ


[แสดง]ด • พ • กรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

[แสดง] รัฐมนตรีว่าการ

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • หลวงศุภชลาศัย • ทวี บุณยเกตุ • อดุล อดุลเดชจรัส • หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) • พระยาสุนทรพิพิธ (เชย มัฆวิบูลย์) • แสง สุทธิพงศ์ • ประจวบ บุนนาค • เล็ก สุมิตร • พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) • ประยูร ภมรมนตรี • ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี • เฉลิม พรมมาศ • พระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) • ประเสริฐ รุจิรวงศ์ • อุดม โปษกฤษณะ • คล้าย ละอองมณี • ประชุม รัตนเพียร • สวัสดิ์ คำประกอบ • ทวี จุลละทรัพย์ • ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ • บุญสม มาร์ติน • เสม พริ้งพวงแก้ว • ทองหยด จิตตวีระ • มารุต บุนนาค • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวน หลีกภัย • ประจวบ ไชยสาส์น • ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ • ไพโรจน์ นิงสานนท์ • บุญพันธ์ แขวัฒนะ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • เสนาะ เทียนทอง • มนตรี พงษ์พานิช • สมศักดิ์ เทพสุทิน • รักเกียรติ สุขธนะ • กร ทัพพะรังสี • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • สุชัย เจริญรัตนกุล • พินิจ จารุสมบัติ • มงคล ณ สงขลา • ไชยา สะสมทรัพย์ • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล • เฉลิม อยู่บำรุง • วิทยา แก้วภราดัย • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • วิทยา บุรณศิริ
 


[แสดง] รัฐมนตรีช่วยว่าการ

ประจวบ บุนนาค • เล็ก สุมิตร • น้อม เกตุนุติ • ประยูร ภมรมนตรี • สวัสดิ์ คำประกอบ • เจ๊ะ อับดุลลา หลังปูเต๊ะ • สมบุญ ผ่องอักษร • เสม พริ้งพวงแก้ว • อุทัย ชุณหะนันทน์ • อนันต์ ฉายแสง • ปรีชา มุสิกุล • ประพนธ์ ปิยะรัตน์ • กระแส ชนะวงศ์ • อำพัน หิรัญโชติ • อำนวย ยศสุข • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • วัชรินทร์ เกตะวันดี • สุทัศน์ เงินหมื่น • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • เอนก ทับสุวรรณ • เด่น โต๊ะมีนา • วีรวร สิทธิธรรม • อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมศักดิ์ เทพสุทิน • จรูญ งามพิเชษฐ์ • รักเกียรติ สุขธนะ • เอนก ทับสุวรรณ • อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม • เตือนใจ นุอุปละ • ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ • สุนทร วิลาวัลย์ • สมาน ภุมมะกาญจนะ • สมภพ อมาตยกุล • สมชาย เบญจรงคกุล • ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ • คำรณ ณ ลำพูน • เดชา สุขารมณ์ • สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี • ประชา พรหมนอก • จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์ • สิริกร มณีรินทร์ • อนุทิน ชาญวีรกูล • สุชัย เจริญรัตนกุล • อนุทิน ชาญวีรกูล • มรกต กรเกษม • วัลลภ ไทยเหนือ • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล • วิชาญ มีนชัยนันท์ • มานิต นพอมรบดี • พรรณสิริ กุลนาถศิริ • ต่อพงษ์ ไชยสาส์น • สุรวิทย์ คนสมบูรณ์


[แสดง]ด • พ • กรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไทย

 มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) • แสวง เสนาณรงค์ • มนูญ บริสุทธิ์ • สุรินทร์ มาศดิตถ์ • บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์ • ปรีดา พัฒนถาบุตร • นิพนธ์ ศศิธร • ชวน หลีกภัย • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ • ดุสิต ศิริวรรณ • บุญเรือน บัวจรูญ • สมพร บุญยคุปต์ • ถวิล รายนานนท์ • บุญยง วัฒนพงศ์ • สวัสดิ์ คำประกอบ • เฉลิมชัย จารุวัสตร์ • สิทธิ เศวตศิลา • เกษม จาติกวณิช • ปรีดา กรรณสูต • ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา • ประมวล กุลมาตย์ • พร ธนะภูมิ • ดำริ น้อยมณี • สมศักดิ์ ชูโต • มีชัย ฤชุพันธุ์ • ชาญ อังศุโชติ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • สุตสาย หัสดิน • ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม • กระมล ทองธรรมชาติ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • อำนวย สุวรรณคีรี • วิชิต แสงทอง • อรุณ ภานุพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • กร ทัพพะรังสี • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • เฉลิม อยู่บำรุง • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • สอาด ปิยวรรณ • กร ทัพพะรังสี • หาญ ลีลานนท์ • จำรัส มังคลารัตน์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี • ไพจิตร เอื้อทวีกุล • มีชัย วีระไวทยะ • สายสุรี จุติกุล • ใหม่ ศิรินวกุล • ชัชวาลย์ ชมภูแดง • สุชน ชามพูนท • วัฒนา อัศวเหม • ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ • ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ • ทินพันธุ์ นาคะตะ • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ • ชินวุธ สุนทรสีมะ • พิมพา จันทร์ประสงค์ • ปัญจะ เกสรทอง • ปองพล อดิเรกสาร • เรืองวิทย์ ลิกค์ • จรัส พั้วช่วย • รักเกียรติ สุขธนะ • โภคิน พลกุล • บุญพันธ์ แขวัฒนะ • ฉัตรชัย เอียสกุล • ชิงชัย มงคลธรรม • วีระกร คำประกอบ • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ • สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ • ภูษณ ปรีย์มาโนช • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • สุพัตรา มาศดิตถ์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมบุญ ระหงษ์ • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • ปวีณา หงสกุล • ภิญโญ นิโรจน์ • อดิศัย โพธารามิก • จาตุรนต์ ฉายแสง • ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา • สมศักดิ์ เทพสุทิน • กระแส ชนะวงศ์ • พงศ์เทพ เทพกาญจนา • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • สุรนันทน์ เวชชาชีวะ • เนวิน ชิดชอบ • ทิพาวดี เมฆสวรรค์ • ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ • ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล • ชูศักดิ์ ศิรินิล • จักรภพ เพ็ญแข • สุขุมพงศ์ โง่นคำ • สุพล ฟองงาม • สาทิตย์ วงศ์หนองเตย • วีระชัย วีระเมธีกุล • องอาจ คล้ามไพบูลย์ • สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ • กฤษณา สีหลักษณ์ • วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล • นลินี ทวีสิน • นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
 

[แสดง]ด • พ • กพรรคประชาธิปัตย์

[แสดง] หัวหน้าพรรค

ควง อภัยวงศ์ • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ถนัด คอมันตร์ • พิชัย รัตตกุล • ชวน หลีกภัย • บัญญัติ บรรทัดฐาน • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ



[แสดง] เลขาธิการพรรค

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช • เทพ โชตินุชิต • ชวลิต อภัยวงศ์ • ใหญ่ ศวิตชาติ • ธรรมนูญ เทียนเงิน • ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ • มารุต บุนนาค
เล็ก นานา • วีระ มุสิกพงศ์ • สนั่น ขจรประศาสน์ • อนันต์ อนันตกูล • ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ • สุเทพ เทือกสุบรรณ • เฉลิมชัย ศรีอ่อน


[แสดง]ด • พ • กผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เสนีย์ ปราโมช • ประมาณ อดิเรกสาร1 • ชวลิต ยงใจยุทธ1 • ประมาณ อดิเรกสาร2 • บรรหาร ศิลปอาชา • ชวน หลีกภัย1,2 • ชวลิต ยงใจยุทธ2-4 • ชวน หลีกภัย3 • บัญญัติ บรรทัดฐาน • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ1,2,3

หมายเลขคือจำนวนสมัยที่ดำรงตำแหน่ง

ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ชวน_หลีกภัย&oldid=4106700".
หมวดหมู่: บทความที่มีการแนะนำให้ย้ายบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2481บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่บุคคลจากจังหวัดตรังนักการเมืองไทยนายกรัฐมนตรีไทยประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยพรรคประชาธิปัตย์ทนายความชาวไทยบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ชาวไทยเชื้อสายจีนชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธสกุลหลีกภัยสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 6 ตุลาบุคคลจากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลหมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่กึ่งล็อกเครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่ล็อกอินเนมสเปซ
บทความอภิปรายสิ่งที่แตกต่างดู
เนื้อหาดูโค้ดประวัติการกระทำ
สืบค้น
  ป้ายบอกทาง
หน้าหลักถามคำถามบทความคัดสรรบทความคุณภาพเหตุการณ์ปัจจุบันสุ่มบทความมีส่วนร่วมศาลาประชาคมปรับปรุงล่าสุดเรียนรู้การใช้งานติดต่อวิกิพีเดียบริจาคให้วิกิพีเดียวิธีใช้พิมพ์/ส่งออกสร้างหนังสือดาวน์โหลดในชื่อ PDFหน้าสำหรับพิมพ์
เครื่องมือหน้าที่ลิงก์มาการปรับปรุงที่เกี่ยวโยงอัปโหลดหน้าพิเศษลิงก์ถาวรอ้างอิงบทความนี้
ภาษาอื่นالعربيةDeutschEnglishEspañolFrançaisIdo日本語OccitanPortuguêsSvenskaTagalogTiếng ViệtYorùbá中文หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2555 เวลา 17:55 น.
อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน อาจใช้เงื่อนไขอื่นร่วมด้วย ดูรายละเอียดข้อกำหนดการใช้งาน
Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร

ติดต่อเรา

ประวัติของนายชวน หลีกภัย


ชวน หลีกภัยจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา ชวน หลีกภัย

นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 20
ดำรงตำแหน่ง
23 กันยายน พ.ศ. 2535 – 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(&&&&&&&&&&&&&&02.&&&&&02 ปี, &&&&&&&&&&&&0292.&&&&&0292 วัน)
สมัยก่อนหน้า อานันท์ ปันยารชุน
สมัยถัดไป บรรหาร ศิลปอาชา
ดำรงตำแหน่ง
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(&&&&&&&&&&&&&&03.&&&&&03 ปี, &&&&&&&&&&&&&092.&&&&&092 วัน)
สมัยก่อนหน้า พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ
สมัยถัดไป พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
ดำรงตำแหน่ง
26 มกราคม พ.ศ. 2534 – 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
สมัยก่อนหน้า พิชัย รัตตกุล
สมัยถัดไป บัญญัติ บรรทัดฐาน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 (74 ปี)
ตำบลท้ายพรุ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
พรรคการเมือง พรรคประชาธิปัตย์
คู่สมรส ภักดิพร สุจริตกุล (ไม่ได้จดทะเบียนสมรสด้วยกัน)
ศาสนา พุทธ
ลายมือชื่อ

ชวน หลีกภัย (ชื่อจีน: 呂基文; พินอิน: Lǚ Jīwén ลวี่จีเหวิน, ฮกเกี้ยน: ลู่กี่บุ๋น ; 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 — ) นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยคนที่ 20 เป็นนายกรัฐมนตรีสองสมัยใน คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 และ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ปัจจุบันเป็นประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

เนื้อหา [ซ่อน]
1 ประวัติ
1.1 การศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์
1.2 การทำงาน
2 นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
3 คำยกย่องและคำวิจารณ์
3.1 คำยกย่อง
3.2 คำวิจารณ์
4 บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
5 วาทะของนายชวน หลีกภัย
6 การดำรงตำแหน่งอื่นๆ
7 รางวัลและเกียรติยศ
8 เครื่องราชอิสริยาภรณ์
9 อ้างอิง
10 หมายเหตุ
11 แหล่งข้อมูลอื่น


ประวัติชวน หลีกภัย เกิดเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 ที่ตำบลท้ายพรุ [1]อำเภอเมือง จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 3 ในจำนวน 9 คน ของนายนิยม หลีกภัย และนางถ้วน หลีกภัย เมื่อยังเด็ก นายชวนมีชื่อเรียกในครอบครัวว่า "เอียด" หมายถึง เล็ก เนื่องจากเป็นคนรูปร่างเล็ก

มีบุตรชายกับนางภักดิพร สุจริตกุล หนึ่งคน คือ นายสุรบถ หลีกภัย[2]

ชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสองสมัย สมัยแรกระหว่างปี พ.ศ. 2535-2538 (ครม.คณะที่ 50) สมัยที่สองระหว่างปี พ.ศ. 2540-2544 (ครม.คณะที่ 53) และเคยดำรงตำแหน่งเป็น หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ติดต่อกัน 3 สมัย ระหว่างปี พ.ศ. 2534-2546 เป็นเวลารวม 12 ปี

การศึกษา และวุฒิกิตติมศักดิ์ประถมศึกษา โรงเรียนวัดควนวิเศษ จังหวัดตรัง
มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมวัดควนวิเศษ และโรงเรียนตรังวิทยา
สำเร็จการศึกษาโรงเรียนศิลปศึกษา แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม เตรียมมหาวิทยาลัยศิลปากร (วิทยาลัยช่างศิลป์ ในปัจจุบัน)
พ.ศ. 2505 นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2507 เนติบัณฑิต สำนักอบรมศึกษาทางกฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา สมัยที่ 17
พ.ศ. 2528 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
พ.ศ. 2530 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2536 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2537 ดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณกรรม (ภาพเขียน) มหาวิทยาลัยศิลปากร
พ.ศ. 2541 นิติศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
พ.ศ. 2542 ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัย San Marcos สาธารณรัฐเปรู
พ.ศ. 2548 รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (สาขาการเมืองการปกครอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2552 นิติศาสตร์คุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทำงานชวน หลีกภัยได้เริ่มต้นชีวิตการทำงานโดยการเป็นทนายความ และต่อมาได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตรัง ในสังกัดพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในปี พ.ศ. 2534 ชวน หลีกภัย เคยดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการมาหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสุข รวมถึง รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน ในปี พ.ศ. 2533 ชวน หลีกภัย ได้ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาในปี พ.ศ. 2535 ได้ขึ้นดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี สมัยที่ 1 และวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเป็นสมัยที่ 2 พร้อมควบตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ทั้งนี้นับตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายชวนเป็นพลเรือนคนที่สอง นับจาก ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงนี้

ดูเพิ่มที่ ประวัติการทำงานของพรรคประชาธิปัตย์
ในเหตุการณ์ 6 ตุลา ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์พร้อมกับรัฐมนตรีในพรรคประชาธิปัตย์อีก 2 คน คือ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์ และ นายสุรินทร์ มาศดิตถ์

สรุปประวัติทางการเมือง

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยแรก) พ.ศ. 2512
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สอง) พ.ศ. 2518
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2518
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สาม) พ.ศ. 2519
รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2519
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2519
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สี่) พ.ศ. 2522
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2523
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2524
รัฐมนตรว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2525-2526
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่ห้า) พ.ศ. 2526
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่หก) พ.ศ. 2529
ประธานสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529-2531
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่เจ็ด) พ.ศ. 2531
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2531-2532
รองนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2532 - 26 ส.ค.2533
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2533 (ส.ค.-ธ.ค.2533)
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ (26 ม.ค.2534 - 4 พ.ค. 2546)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่แปด) พ.ศ. 2535 (22 มี.ค.2535)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่เก้า) พ.ศ. 2535 (13 ก.ย.2535)
นายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 (23 ก.ย.2535 - 20 ก.ค.2538)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบ) พ.ศ. 2538 (2 ก.ค.2538)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2538 (4 ส.ค.2538)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบเอ็ด) พ.ศ. 2539 (17 พ.ย.2539)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2539 (21 ธ.ค.2539)
นายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2540 (9 พ.ย.2540 - 8 ก.พ.2544)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2540 (14 พ.ย.2540-18 ก.พ.2544)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สมัยที่สิบสอง) พ.ศ. 2544 (6 ม.ค.2544)
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544 (11 มี.ค.2544)
ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ (พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน)
นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย
การอภิปรายในสภา ของนายชวน หลีกภัยวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ถึง 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
ชวน หลีกภัย ก้าวขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยแรก ดำรงตำแหน่งระหว่างเป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 20 และยังเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของไทยที่มาจากการเลือกตั้ง สิ้นสุดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยการยุบสภา

วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ชวน หลีกภัย ได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สอง โดยรับช่วงต่อหลังจาก พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ลาออกจากตำแหน่งเนื่องจากเกิดปัญหาเศรษฐกิจอย่างหนักจนต้องลอยตัวค่าเงินบาท กองทัพไม่ได้ต่อต้านการคืนสู่ตำแหน่งของเขา ชวนได้แต่งตั้งคณะทำงานด้านเศรษฐกิจที่น่าเชื่อถือจนได้รับความเชื่อถือและเห็นชอบจากสถาบันการเงินนานาชาติและสหรัฐอเมริกา มุ่งไปสู่การฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ อีกทั้งรัฐบาลผสมก็เอาชนะความพยายามของฝ่ายค้านในการอภิปรายไม่ไว้วางใจ แม้ชวนจะไม่ใช่นักการเมืองที่น่าดึงดูดใจ แต่ก็ได้รับการสนับสนุนและไว้วางใจ เพราะถูกมองว่าซื่อสัตย์ มุ่งปฏิรูประบอบประชาธิปไตยและขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวง [3]

การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในสมัยที่สอง ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่เคารพกติกาประชาธิปไตย[ต้องการอ้างอิง] เนื่องจากรัฐบาลจัดตั้งขึ้น โดยกลุ่มของพรรคการเมืองฝ่ายค้าน ขณะที่ฝ่ายรัฐบาลเดิมสนับสนุนให้ พล.อ. ชาติชาย ชุณหะวัณ หัวหน้าพรรคชาติพัฒนาขึ้นดำรงตำแหน่งแทน โดยการสนับสนุนของพรรคความหวังใหม่ (125 คน) พรรคชาติพัฒนา (52 คน) พรรคประชากรไทย (18 คน) และ พรรคมวลชน (2 คน) รวม 197 เสียง ส่วนฝ่ายค้านเดิมนำโดยพรรคประชาธิปัตย์ (123 คน) ร่วมกับพรรคชาติไทย (39 คน) พรรคเอกภาพ (8 คน) พรรคพลังธรรม (1 คน) พรรคไท (1 คน) และพรรคร่วมรัฐบาลเดิมได้แก่พรรคกิจสังคม (20 คน) และพรรคเสรีธรรม (4 คน) สนับสนุนนายชวน หลีกภัย ด้วยเสียงทั้งสิ้นรวม 196 เสียง ซึ่งน้อยกว่าฝ่ายรัฐบาล 1 เสียง[4]


ชวน หลีกภัย กับบิล คลินตัน เมื่อปี พ.ศ. 2542การดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนายชวน หลีกภัย ก่อให้เกิดกลุ่มการเมือง ที่ถูกตั้งชื่อว่า กลุ่มงูเห่า ซึ่งเป็นสมาชิกพรรคประชากรไทยจำนวน 12 คนที่เข้าร่วมสนับสนุนรัฐบาล โดยคำชวนของ พล.ต. สนั่น ขจรประศาสน์ จนกระทั่งถูกพรรคประชากรไทยมีมติขับไล่ ทั้ง 12 ออกจากการเป็นสมาชิกพรรค และส่งผลให้สิ้นสุดสถานภาพ ส.ส.ตามกฎหมาย กลุ่มงูเห่าทั้ง 12 คน ได้ยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่ามติดังกล่าวเป็นมติที่ไม่ชอบ ขัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ส.ส.ตามรัฐธรรมนูญ ส่งผลให้ ส.ส.ทั้ง 12 คน ยังคงสถานภาพ และหาพรรคใหม่สังกัด

นอกจากกรณีกลุ่มงูเห่าแล้ว ยังมีกรณีรัฐมนตรีร่วมรัฐบาลที่ได้รับการตัดสินว่ามีความผิดทางการเมืองอีก 2 ท่าน ได้แก่ นายรักเกียรติ สุขธนะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขและ พลตรีสนั่น ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยนายรักเกียรติ สุขธนะ (พรรคชาติไทย) ได้รับคำพิพากษาตัดสินจาก ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ให้จำคุกเป็นเวลา 5 ปี ฐานเรียกรับสินบนบริษัทยา ทีเอ็น พี เฮลท์ แคร์ จำกัด ซึ่งนับว่าเป็นรัฐบาลชุดแรกที่รัฐมนตรีร่วมรัฐบาล ได้รับโทษถึงที่สุดให้จำคุกจากการทุจริตในระหว่างการดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในคณะร้ฐบาล

นอกจากนี้ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ของรัฐบาลนายชวน หลีกภัยและเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ ก็ได้รับคำพิพากษาจากศาลรัฐธรรมนูญ ห้ามยุ่งเกี่ยวกับการเมืองเป็นเวลา 5 ปี จากการรายงานบัญชีทรัพย์สินตกหล่น

การจัดตั้งรัฐบาลสมัยที่สองของนายชวนนี้ ได้รับการสนับสนุนจากประชาชนส่วนใหญ่ โดยเฉพาะชนชั้นกลางใน กทม. เนื่องจากคาดว่ารัฐบาลนายชวน หลีกภัย จะสามารถฉุดประเทศไทยออกจากวิกฤตเศรษฐกิจที่เริ่มขึ้นในรัฐบาลของ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ แต่การแก้ปัญหาทางเศรษฐกิจของรัฐบาลนายชวน หลีกภัยไม่บรรลุผลไม่สามารถดึงเศรษฐกิจให้หลุดพ้นจากภาวะการตกต่ำได้ทันใจ ความต้องการของประชาชน ทำได้แค่นำคนไข้ออกจากห้องฉุกเฉิน เข้าพักฟื้นในห้องคนป่วยปกติ แม้ว่าจะได้ดำเนินการมากว่า 3 ปี นอกจากนี้ นโยบายพรรคไทยรักไทย ยังเป็นที่ดึงดูดใจของประชาชน เช่น ปลดหนึ้เกษตรกร หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ และ สามสิบบาทรักษาทุกโรค ในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งถัดมาในปี พ.ศ. 2544 ทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้พรรคประชาธิปัตย์การพ่ายแพ้ต่อพรรคไทยรักไทย และนายชวน ต้องกลับมาเป็นฝ่ายค้าน

คำยกย่องและคำวิจารณ์
นายชวน หลีกภัย ขณะปราศรัยหาเสียงที่จังหวัดตรัง ในการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2512 ซึ่งนายชวนลงสมัครเป็นครั้งแรก โดยมี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (ชุดขาว) หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ขณะนั้น นั่งไขว่ห้างฟังอยู่ข้างล่างคำยกย่องยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย และยึดถือในเรื่องของหลักการเป็นอย่างมาก[ต้องการอ้างอิง]
เป็นนักการเมืองที่มือสะอาด จนได้รับฉายา Mr. Clean (นายสะอาด) [5] นอกจากนี้ภาพที่พบจากสื่อมักแสดงให้เห็นว่าใช้ชีวิตอย่างสมถะ[ต้องการอ้างอิง]
เป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกที่กล้าประกาศว่า รมต. ว่าการกระทรวงกลาโหม ไม่จำเป็นต้องเป็นทหาร แสดงให้เห็นถึงบุคลิกผู้นำและบริหารปราศจากอำนาจของทหารได้เป็นอย่างดี
คำวิจารณ์การอนุมัติแต่งตั้ง จอมพลถนอม กิตติขจร หนึ่งใน 3 ทรราช เป็นนายทหารพิเศษประจำกรมทหารราบที่ 1 รักษาพระองค์ เมื่อปี พ.ศ. 2542 ท่ามกลางกระแสไม่พอใจของสังคม สื่อมวลชน และโดยเฉพาะญาติของผู้เสียชีวิต/สูญหายในเหตุการณ์ 14 ตุลา 16 และ 6 ตุลา 19[6]
ชวน หลีกภัยมักออกรับประกันแทนลูกพรรคที่ได้รับการวิจารณ์ว่าเกี่ยวข้องกับการทุจริต เปรียบเสมือนกับการทาสีดำให้เป็นขาวจนได้รับสมญานาม "ช่างทาสี" ในการตั้งสมญาประจำปีของผู้สื่อข่าวประจำทำเนียบรัฐบาล ในปี พ.ศ. 2545 ชวนได้สมญาว่าเป็น "แผ่นเสียงตกร่อง" [ต้องการอ้างอิง]
ได้รับคำวิจารณ์ว่าทำงานช้า โดยมีคำพูดที่ถูกนำไปล้อเลียนประจำคือ "ผมยังไม่ได้รับรายงาน" "ทุกอย่างต้องเป็นไปตามขั้นตอน" "อันนี้ผมกำลังพิจารณาอยู่"
ในช่วงเดือนปลายปี 2547 ภายหลังเหตุการณ์สึนามิ ชวน หลีกภัย ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการขอใช้งบประมาณ 2 หมื่นล้านบาทในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยของรัฐบาลว่าเป็นสิ่งที่จำเป็น และให้ความเห็นว่า การใช้งบประมาณนี้ ในการช่วยเหลือภาคใต้ ยิ่งเป็นสิ่งที่จำเป็น เพราะว่ารัฐบาลละเลยไม่ดูแลพื้นที่ดังกล่าวมาตลอดสี่ปี เพื่อเป็นการแก้เผ็ด ที่ไม่เลือกรัฐบาล [ต้องการอ้างอิง]
กรณีขายสินทรัพย์ ปรส. และ "กฎหมายขายชาติ" 12 ฉบับ มีการโจมตีกันอย่างมากแต่จนแล้วจนรอด ข้อกล่าวหากฎหมายเหล่านี้เป็นแค่เกมการเมือง จะเห็นได้ชัดว่ารัฐบาลยุคต่อไปของทักษิณก็ยังใช้อยู่ [ต้องการอ้างอิง]
บทบาททางการเมืองภายหลังพ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2544 ชวน หลีกภัย กลับมาเป็นผู้นำฝ่ายค้านอีกครั้ง เมื่อ 14 มีนาคม พ.ศ. 2544 และต้องการ ก้าวลงจากตำแหน่ง หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งจากการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งหัวหน้าพรรคใน 2 ปีถัดมาเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2546 นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ได้รับเลือก เป็นหัวหน้าพรรค ทำให้รวมแล้ว ชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค 3 สมัยเป็นเวลาทั้งสิ้น 12 ปี

ในการเลือกตั้งครั้งถัดมาเมื่อปี พ.ศ. 2548 หลังจากที่พรรคประชาธิปัตย์ ไม่สามารถได้รับคะแนนเสียงเพียงพอ ต่อการจัดตั้งรัฐบาล แข่งกับพรรคไทยรักไทย บัญญัติ บรรทัดฐาน ลาออกจากตำแหน่งตัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เข้ามาดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน

ปัจจุบัน ชวน หลีกภัย ดำรงตำแหน่ง ประธานสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์

วาทะของนายชวน หลีกภัย ได้มีการแนะนำว่า บทความนี้หรือบางส่วนของบทความนี้ควรย้ายไปที่โครงการวิกิคำคม (อภิปราย)
เนื่องจากมีเนื้อหาไม่ตรงตามนโยบายของวิกิพีเดีย แต่อาจเหมาะสมกับโครงการวิกิคำคมมากกว่า

ชวน หลีกภัย ได้ชื่อว่าเป็นนักการเมืองที่มีคารมคมคาย โดยเฉพาะในแบบเชือดเฉือน จนได้ฉายาว่า "ใบมีดโกนอาบน้ำผึ้ง" ตัวอย่างวาทะเด็ดของ นายชวน หลีกภัย เช่น

 ยังไม่ได้รับรายงาน
 
 เราไม่อาจทำให้คนทุกคนร่ำรวยเท่าเทียมกันได้ แต่เราสามารถทำให้ทุกคนอยู่ใต้กฎหมายเดียวกันได้
 
 ยอมให้คนโง่ที่คนรอบข้างซื่อสัตย์ปกครองประเทศ ดีกว่าปล่อยให้คนซื่อแต่คนรอบข้างโกงกินปกครองประเทศ
 

การดำรงตำแหน่งอื่นๆอุปนายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กรรมการสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร
กรรมการสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลและเกียรติยศเครื่องหมายกิตติมศักดิ์ราชนาวิกสภาและประกาศนียบัตรของกองทัพเรือ จากการสนับสนุนการศึกษาของกองทัพเรือ นับเป็นนายกรัฐมนตรีพลเรือนคนแรก ที่ได้รับเครื่องหมายนี้ โดยนายกรัฐมนตรีคนแรกที่ได้รับคือ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช., 2525)
 มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม., 2524)
 ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช., 2523)
 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม., 2522)
 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายหน้า (ท.จ.ว., 2541)[7]
 ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ ฝ่ายหน้า (ต.จ.ว., 2539)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ :

Order of Sukatuna (Special Class) , Raja สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (2536)
Order of the Sun (Grand Cross) สาธารณรัฐเปรู (2542)
Grand Cross of the Order of Christ สาธารณรัฐโปรตุเกส (2542)
Jose Dolores Estrada, Batalla de San Jacinto (Gran Cruz) สาธารณรัฐนิการากัว (2543)
Romania's Star - The High Cross ประเทศโรมาเนีย (2543)
อ้างอิง1.^ ปัจจุบัน อยู่ในเขตตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
2.^ หนังสือกินอยู่เรียบง่าย สบายแบบชาวบ้าน ชวน หลีกภัย ลูกแม่ค้าขายพุงปลา โดย เริงศักดิ์ กำธร (พ.ศ. 2545) ISBN 974-85645-2-5
3.^ ไมเคิล ลีเฟอร์, จุฬาพร เอื้อรักสกุล (แปล-เรียบเรียง). พจนานุกรมการเมืองสมัยใหม่ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์, 2548. 726 หน้า. ISBN 974-571-921-8
4.^ http://komchadluek.net/e2548/reference/index.php?sub=06&pag=05
5.^ Asiaweek Power 50, 2000, เรียกดูเมื่อ 28 มิถุนายน 2551
6.^ เนชั่นสุดสัปดาห์ 1 เม.ย. 2542, 'ถนอม' ลาออก 'ชวน' ไม่ขอโทษ ปชป.เปรียบถนอม เทียบรัฐบุรุษปรีดี
7.^ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ในวโรกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๑)
หมายเหตุแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของรัฐบาลชวน หลีกภัยได้รับการวิพาร์กวิจารณ์ในแง่ลบจากพวกพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งฝ่ายที่วิจารณ์ วิจารณ์ว่า เปรียบประดุจการรดน้ำต้นไว้ที่ยอด ซึ่งยากที่น้ำจะซึมลงไปสู่รากได้ นอกจากนี้ ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในปี 2540 นักเศรษฐศาสตร์จำนวนมากวิจารณ์ว่า สาเหตุหลักเกิดจาก นโยบายเปิดเสรีทางการเงิน BIBF ที่พรรคประชาธิปัตย์นำมาใช้ในปี 2532 เป็นสาเหตุให้มีการกู้ยืมเงินจากต่างประเทศเข้ามาเป็นจำนวนมาก ในรัฐบาลต่อมาจากรัฐบาลสมัยที่ 1 ในขณะที่มีการกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนไว้อย่างตายตัว ทำให้รัฐบาลชวลิตไม่มีทางเลือก และต้องลดค่าเงินบาทในปี 2540 ในช่วงปีสุดท้ายของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย ภาคประชาชนต่างๆ ได้ออกมาต่อต้านอย่างรุนแรง และได้มี "คำประกาศอิสรภาพของประเทศไทย" ที่กลุ่มเศรษฐศาสตร์การเมือง ได้จัดประชุมขึ้นที่หอประชุมใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี 2544 ดังนั้น ภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ฟื้นตัว คนว่างงานจำนวนมาก คำมั่นสัญญาจากรัฐบาลว่าเศรษฐกิจกำลังฟื้น แต่เวลาได้ล่วงเลยมากว่า 3 ปีแล้วทำให้ประชาชนที่ยังไม่เข้าใจเรื่องเศษรฐกิจนัก หันไปสนับสนุนพรรคไทยรักไทย ของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตรมากขึ้น จนทำให้เป็นพรรคการเมืองแรกที่ชนะเลือกตั้งถึงครึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎร (ในเบื้องต้น พรรค.ทรท.ได้ 250 ที่นั่ง เท่ากับครึ่งหนึ่งของสภาที่มีจำนวน 500 ที่นั่ง แต่ผู้สมัครถูกใบแดงไป 2 ที่นั่งจึงลดลงเหลือ 248 ที่นั่ง)
ปลายสมัยรัฐบาลชวน หลีกภัย จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทยเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากไอเอ็มเอฟ ฐานะเงินคงคลัง และเงินสำรองมีมาก ถึงระดับปลอดภัย ไม่จำเป็นต้องเบิกถอนเงินสถาบัน ไอเอ็มเอฟ ที่ยังมีวงเงินเหลืออยู่ รัฐบาลได้ถอนเงิน 12000 ล้านเหรียญสหรัฐจากวงเงิน 17200 ล้านเหรียญสหรัฐ น่าจะเป็นข้ออ้างอิงว่าฐานะการเงินของประเทศในสมัยรัฐบาลนายชวนนั้น ดีขึ้นแล้ว[ต้องการอ้างอิง]
ระยะแรกของรัฐบาลนายชวน แก้ไขปัญหาด้วยการขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้สูงตามคำแนะนำของไอเอ็มเอฟ จนทำให้ธุรกิจจำนวนมากไม่สามารถกู้และชำระหนี้ได้ และโดนล้อเลียนว่า คุณพ่อไอเอ็มเอฟ ภายหลังจึงลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลงเนื่องจากไอเอ็มเอฟออกมายอมรับว่าการขึ้นดอกเบี้ยสูงเป็นนโยบายที่ไม่ถูกต้อง
แหล่งข้อมูลอื่นคอมมอนส์ มีภาพและสื่ออื่น ๆ เกี่ยวกับ:
ชวน หลีกภัยวิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ:
ชวน หลีกภัยข้อมูล ชวน หลีกภัย จากเว็บไซต์รัฐบาลไทย
เว็บไซต์ส่วนตัวของ ชวน หลีกภัย
ชวน หลีกภัย ประวัติบุคคล สำนักข่าวไทย
หนังสือเย็นลมป่า ผลงานชิ้นเอกที่เขียนเรื่องและวาดรูปประกอบด้วยตนเอง บันทึกเรื่องจริง! เหตุการณ์บางเสี้ยวชีวิต ชวน หลีกภัย
สมัยก่อนหน้า  ชวน หลีกภัย  สมัยถัดไป
อานันท์ ปันยารชุน
นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (สมัยที่ 1 : ครม. 50)
(23 กันยายน พ.ศ. 2535 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538)  บรรหาร ศิลปอาชา
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ  นายกรัฐมนตรีของประเทศไทย (สมัยที่ 2 : ครม. 53)
(9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544)  พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
พิชัย รัตตกุล
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
พงส์ สารสิน
พลเรือเอก สนธิ บุณยะชัย
พลเอก เทียนชัย สิริสัมพันธ์
รองนายกรัฐมนตรี (ครม. 45)
(29 ธันวาคม พ.ศ. 2532 - 26 สิงหาคม พ.ศ. 2533)  บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ
เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
โกศล ไกรฤกษ์
พลเอก มานะ รัตนโกเศศ
พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก
พิชัย รัตตกุล
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
(พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2546)  บัญญัติ บรรทัดฐาน




[แสดง]ด • พ • กนายกรัฐมนตรีไทย

พระยามโนปกรณ์นิติธาดา(1-3) · พระยาพหลพลพยุหเสนา(1-5) · แปลก พิบูลสงคราม(1-2) · ควง อภัยวงศ์(1) · ทวี บุณยเกตุ · เสนีย์ ปราโมช(1) · ควง อภัยวงศ์(2) ·
ปรีดี พนมยงค์(3-8) · ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์(1-2) · ควง อภัยวงศ์(3-4) · แปลก พิบูลสงคราม(3-8) · พจน์ สารสิน · ถนอม กิตติขจร(1) · สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ·
ถนอม กิตติขจร(2-4) · สัญญา ธรรมศักดิ์(1-2) · เสนีย์ ปราโมช(2) · คึกฤทธิ์ ปราโมช · เสนีย์ ปราโมช(3-4) · ธานินทร์ กรัยวิเชียร · เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์(1-2) ·
เปรม ติณสูลานนท์(1-3) · ชาติชาย ชุณหะวัณ(1-2) · อานันท์ ปันยารชุน(1) · สุจินดา คราประยูร · อานันท์ ปันยารชุน(2) · ชวน หลีกภัย(1) · บรรหาร ศิลปอาชา ·
ชวลิต ยงใจยุทธ · ชวน หลีกภัย(2) · ทักษิณ ชินวัตร(1-2) · สุรยุทธ์ จุลานนท์ · สมัคร สุนทรเวช · สมชาย วงศ์สวัสดิ์ · อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

ในวงเล็บ คือ สมัยที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของบุคคลนั้น

[แสดง]ด • พ • กรองนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย

 อดุล อดุลเดชจรัส · ดิเรก ชัยนาม · เดือน บุนนาค · สวัสดิ์ สวัสดิ์รณชัย · ผิน ชุณหะวัณ · มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ · นายวรการบัญชา · ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี · หลวงยุทธศาสตร์โกศล · พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ · ประภาส จารุเสถียร · สุกิจ นิมมานเหมินท์ · ถนอม กิตติขจร · พจน์ สารสิน · ประกอบ หุตะสิงห์ · เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ · ประมาณ อดิเรกสาร · ทวิช กลิ่นประทุม · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ · ทวี จุลละทรัพย์ · ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ · บุญชัย บำรุงพงศ์ · อัมพร จันทรวิจิตร · สุนทร หงส์ลดารมภ์ · สมภพ โหตระกิตย์ · เสริม ณ นคร · เล็ก แนวมาลี · ถนัด คอมันตร์ · บุญชู โรจนเสถียร · ประจวบ สุนทรางกูร · ทองหยด จิตตวีระ · พิชัย รัตตกุล · สนธิ บุณยะชัย · สิทธิ เศวตศิลา · ชาติชาย ชุณหะวัณ · พงส์ สารสิน · เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ · ชวน หลีกภัย · ชวลิต ยงใจยุทธ · ประมวล สภาวสุ · สนั่น ขจรประศาสน์ · มานะ รัตนโกเศศ · อาทิตย์ กำลังเอก · บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ · เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ · โกศล ไกรฤกษ์ · เสนาะ อูนากูล · เภา สารสิน · มีชัย ฤชุพันธุ์ · ณรงค์ วงศ์วรรณ · สมบุญ ระหงษ์ · มนตรี พงษ์พานิช · สมัคร สุนทรเวช · เกษม สุวรรณกุล · หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี · บัญญัติ บรรทัดฐาน · อำนวย วีรวรรณ · ศุภชัย พานิชภักดิ์ · สุขวิช รังสิตพล · จำลอง ศรีเมือง · ทักษิณ ชินวัตร · บุญพันธ์ แขวัฒนะ · กร ทัพพะรังสี · วีรพงษ์ รามางกูร · สุวิทย์ คุณกิตติ · ปัญจะ เกสรทอง · ไตรรงค์ สุวรรณคีรี · วิโรจน์ เปาอินทร์ · สุทัศน์ เงินหมื่น · เดช บุญ-หลง · ปองพล อดิเรกสาร · พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ · สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ · จาตุรนต์ ฉายแสง · พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช · วิษณุ เครืองาม · ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ · โภคิน พลกุล · สุชาติ เชาว์วิศิษฐ · ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา · วันมูหะมัดนอร์ มะทา · สุวัจน์ ลิปตพัลลภ · พินิจ จารุสมบัติ · สมศักดิ์ เทพสุทิน · ชิดชัย วรรณสถิตย์ · สุรเกียรติ์ เสถียรไทย · สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ · สุชัย เจริญรัตนกุล · ปรีดิยาธร เทวกุล · โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ · ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม · สนธิ บุญยรัตกลิน · สมชาย วงศ์สวัสดิ์ · มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ · สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี · สหัส บัณฑิตกุล · โกวิท วัฒนะ · มั่น พัธโนทัย · สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · ชวรัตน์ ชาญวีรกูล · โอฬาร ไชยประวัติ · สุเทพ เทือกสุบรรณ · กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ · ยงยุทธ วิชัยดิษฐ · เฉลิม อยู่บำรุง · กิตติรัตน์ ณ ระนอง · ชุมพล ศิลปอาชา · ยุทธศักดิ์ ศศิประภา
 

[แสดง]ด • พ • กประธานสภาผู้แทนราษฎร และสภานิติบัญญัติของประเทศไทย

 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี * · เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) * · เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ! · พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) ! · เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ ! · พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) ! · พระยาศรยุทธเสนี ! · พระยามานวราชเสวี ! · เกษม บุญศรี ! · พึ่ง ศรีจันทร์ † · พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ราชธรรมนิเทศ) ! · พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) † · หลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที) † · พระประจนปัจจนึก ! · หลวงสุทธิสารรณกร † · ทวี บุณยเกตุ † · ศิริ สิริโยธิน ! · ศิริ สิริโยธิน † · คึกฤทธิ์ ปราโมช * · ประภาศน์ อวยชัย * · ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · กมล เดชะตุงคะ † · หะริน หงสกุล † · บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · ชวน หลีกภัย ! · ปัญจะ เกสรทอง ! · อุกฤษ มงคลนาวิน † · อาทิตย์ อุไรรัตน์ † · มารุต บุนนาค ! · บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ! · วันมูหะมัดนอร์ มะทา ! · พิชัย รัตตกุล ! · อุทัย พิมพ์ใจชน ! · โภคิน พลกุล ! · มีชัย ฤชุพันธุ์ † · ยงยุทธ ติยะไพรัช ! · ชัย ชิดชอบ ! · สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ !

--------------------------------------------------------------------------------
(รองประธานสภา) พระยาอินทรวิชิต · พระยาศรยุทธเสนี · พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) · พระเรี่ยมวิรัชชพากย์ (เรี่ยม ทรรทรานนท์) · พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) · พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) · พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) · ฟื้น สุพรรณสาร · เลื่อน บุนนาค · มงคล รัตนวิจิตร · พระราชธรรมนิเทศ · พระยาอานุภาพไตรภพ · ขุนคงฤทธิศึกษากร · ขุนวิวรณ์สุขวิทยา · น้อม อุปรมัย · จงกล ไกรฤกษ์ · ปรุง รังสิยานนท์ · สัญญา ธรรมศักดิ์ · ประสิทธิ์ จุลละเกศ · ประมวล กุลมาตย์ · มงคล สุคนธขจร · เทียม ไชยนันทน์ · สอาด ปียวรรณ · สมรรค ศิริจันทร์ · ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ · ชุมพล ศิลปอาชา · ใหม่ ศิรินวกุล · ธนา เมตตาริกานนท์ · ไสว พัฒโน · เชาวน์วัศ สุดลาภา · วันมูหะมัดนอร์ มะทา · ถวิล ไพรสณฑ์ · จรัส พั้วช่วย · เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย · กริช กงเพชร · สุธรรม แสงประทุม · ธำรงค์ ไทยมงคล · โสภณ เพชรสว่าง · สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ · สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล · บุญชง วีสมหมาย · สุชาติ ตันเจริญ · ลลิตา ฤกษ์สำราญ · อภิวันท์ วิริยะชัย · สามารถ แก้วมีชัย · เจริญ จรรย์โกมล · วิสุทธิ์ ไชยณรุณ

หมายเหตุ: † รัฐประหาร, * แต่งตั้ง,  ! เลือกตั้ง

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์

กลาโหม ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • ถวิล รายนานนท์ • อุสาห์ ชัยนาม

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ประมุท บุรณศิริ

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ สวัสดิ์ คำประกอบ • ไกรสร ตันติพงศ์ • สมัคร สุนทรเวช • แผน สิริเวชชะพันธ์

คมนาคม สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • อุทัย พิมพ์ใจชน • สมศาสตร์ รัตนสัค

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • ประเทือง คำประกอบ

มหาดไทย อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร • ธรรมนูญ เทียนเงิน • สมบุญ ศิริธร • สันต์ เทพมณี

ยุติธรรม เทียม ไชยนันท์ • ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ • ขุนทอง ภูผิวเงิน

สาธารณสุข คล้าย ละอองมณี

อุตสาหกรรม นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

ทบวงมหาวิทยาลัย เกษม สุวรรณกุล

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 37 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทวี จุลละทรัพย์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • ชวน หลีกภัย

กลาโหม กฤษณ์ สีวะรา • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทินกร พันธุ์กระวี

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ ประมาณ อดิเรกสาร • ไกรสร ตันติพงศ์ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

คมนาคม ทวิช กลิ่นประทุม • บุญเกิด หิรัญคำ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • คล้าย ละอองมณี

มหาดไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ขุนทอง ภูผิวเดือน • สมัคร สุนทรเวช • สมบุญ ศิริธร • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์

ยุติธรรม ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ศิริ สิริโยธิน • สิดดก สารีฟ • ดาบชัย อัคราช

สาธารณสุข ทวี จุลละทรัพย์ • ปรีชา มุสิกุล

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • แผน สิริเวชชะพันธ์ • บรรหาร ศิลปอาชา

ทบวงมหาวิทยาลัย นิพนธ์ ศศิธร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 ของไทย

นายกรัฐมนตรี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทวี จุลละทรัพย์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์

สำนักนายกรัฐมนตรี สุรินทร์ มาศดิตถ์ • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

กลาโหม สงัด ชลออยู่ • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์

การคลัง เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ • ทินกร พันธุ์กระวี

การต่างประเทศ พิชัย รัตตกุล • เล็ก นานา

เกษตรและสหกรณ์ ประมาณ อดิเรกสาร • ไกรสร ตันติพงศ์ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

คมนาคม ทวิช กลิ่นประทุม • บุญเกิด หิรัญคำ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • คล้าย ละอองมณี

มหาดไทย หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ขุนทอง ภูผิวเดือน • แผน สิริเวชชะพันธ์ • ดาบชัย อัคราช

ยุติธรรม ชวน หลีกภัย

ศึกษาธิการ ศิริ สิริโยธิน • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์ • สิดดก สารีฟ

สาธารณสุข ทวี จุลละทรัพย์ • ปรีชา มุสิกุล

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • บรรหาร ศิลปอาชา

ทบวงมหาวิทยาลัย นิพนธ์ ศศิธร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ วีระ มุสิกพงศ์

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 42 ของไทย

นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์

รองนายกรัฐมนตรี ประมาณ อดิเรกสาร • เสริม ณ นคร • ถนัด คอมันตร์ • บุญชู โรจนเสถียร • ประจวบ สุนทรางกูร • ทองหยด จิตตวีระ

สำนักนายกรัฐมนตรี สมศักดิ์ ชูโต • มีชัย ฤชุพันธุ์ • บุญยงค์ วัฒนพงศ์ • ชาญ อังศุโชติ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • สุตสาย หัสดิน • ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม

กลาโหม เปรม ติณสูลานนท์ • กวี สิงหะ • พะเนียง กานตรัตน์ • สมุทร สหนาวิน

การคลัง อำนวย วีรวรรณ • สมหมาย ฮุนตระกูล • บรม ตันเถียร • ไพจิตร เอื้อทวีกุล • สุธี สิงห์เสน่ห์

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • อรุณ ภาณุพงศ์

เกษตรและสหกรณ์ บรรหาร ศิลปอาชา • อาณัติ อาภาภิรม • ชวน หลีกภัย • อาณัติ อาภาภิรม • ปุณมี ปุณศรี • กฤช สังขทรัพย์ • โกศล ไกรฤกษ์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • วีระ มุสิกพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • ปรีดา พัฒนถาบุตร

คมนาคม อมร ศิริกายะ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • ทินกร พันธุ์กระวี • ยศ อินทรโกมาลย์สุต • ชาญ มนูธรรม • ชุมพล ศิลปอาชา • วีระ มุสิกพงศ์ • มนตรี พงษ์พานิช

พาณิชย์ ตามใจ ขำภโต • ชวน หลีกภัย • ปุณมี ปุณศรี • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • ไพโรจน์ ไชยพร • ประกายพฤกษ์ ศรุตานน์ • ทวี ไกรคุปต์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์

มหาดไทย ประเทือง กีรติบุตร • สิทธิ จิรโรจน์ • เกษม ศิริสัมพันธ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • สมุทร สหนาวิน • วิเชียร เวชสวรรค์ • โกศล ไกรฤกษ์

ยุติธรรม ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค

วิทยาศาสตร์ฯ อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • ทินกร พันธุ์กระวี

ศึกษาธิการ สิปปนนท์ เกตุทัต • เกษม ศิริสัมพันธ์ • ขุนทอง ภูผิวเดือน

สาธารณสุข ทองหยด จิตตวีระ • เสม พริ้งพวงแก้ว • อำพัน หิรัญโชติ • อำนวย ยศสุข

อุตสาหกรรม ชาติชาย ชุณหะวัณ • โกศล ไกรฤกษ์ • ไกรสร ตันติพงศ์ • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ • บรม ตันเถียร

ทบวงมหาวิทยาลัย เกษม สุวรรณกุล

โฆษกประจำสำนักนายกฯ สมศักดิ์ ชูโต

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 43 ของไทย

นายกรัฐมนตรี เปรม ติณสูลานนท์

รองนายกรัฐมนตรี ประจวบ สุนทรางกูร • บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ • พิชัย รัตตกุล • สนธิ บุณยะชัย • สิทธิ เศวตศิลา

สำนักนายกรัฐมนตรี ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม • มีชัย ฤชุพันธุ์ • กระมล ทองธรรมชาติ • สวัสดิ์ คำประกอบ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน

กลาโหม เปรม ติณสูลานนท์ • พะเนียง กานตรัตน์

การคลัง สมหมาย ฮุนตระกูล • สุธี สิงห์เสน่ห์ • อำนวย ยศสุข • สุบิน ปิ่นขยัน

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • ประพาส ลิมปะพันธ์ • อรุณ ภาณุพงศ์

เกษตรและสหกรณ์ ณรงค์ วงศ์วรรณ • บรม ตันเถียร • ประยุทธ ศิริพาณิชย์ • ผัน บุญชิต • ประสพ บุษราคัม

คมนาคม สมัคร สุนทรเวช • บุญเทียม เขมาภิรัตน์ • ประชุม รัตนเพียร

พาณิชย์ โกศล ไกรฤกษ์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • ไพโรจน์ ไชยพร • ประยูร จินดาศิลป์ • อำนวย ยศสุข

มหาดไทย สิทธิ จิรโรจน์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • วีระ มุสิกพงศ์ • เฉลียว วัชรพุกก์ • โอภาส พลศิลป • มนตรี พงษ์พานิช

ยุติธรรม พิภพ อะสีติรัตน์

วิทยาศาสตร์ฯ ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • เล็ก นานา

ศึกษาธิการ ชวน หลีกภัย • สัมพันธ์ ทองสมัคร

สาธารณสุข มารุต บุนนาค • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์

อุตสาหกรรม อบ วสุรัตน์ • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • วงศ์ พลนิกร • ประโยชน์ เนื่องจำนงค์ • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • อนันต์ ฉายแสง • มีชัย วีระไวทยะ

ทบวงมหาวิทยาลัย ปรีดา พัฒนถาบุตร

โฆษกประจำสำนักนายกฯ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 45 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชาติชาย ชุณหะวัณ

รองนายกรัฐมนตรี พงส์ สารสิน • พิชัย รัตตกุล • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • ชวน หลีกภัย • ชวลิต ยงใจยุทธ • ประมวล สภาวสุ • สนั่น ขจรประศาสน์ • มานะ รัตนโกเศศ • ทองหยด จิตตวีระ • อาทิตย์ กำลังเอก

สำนักนายกรัฐมนตรี มีชัย ฤชุพันธุ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • กร ทัพพะรังสี • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • สุพัตรา มาศดิตถ์ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • เฉลิม อยู่บำรุง • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม

กลาโหม ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวลิต ยงใจยุทธ • ชาติชาย ชุณหะวัณ

การคลัง ประมวล สภาวสุ • วีรพงษ์ รามางกูร • สุชน ชามพูนท • นิพนธ์ พร้อมพันธุ์

การต่างประเทศ สิทธิ เศวตศิลา • สุบิน ปิ่นขยัน • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • อำนวย ยศสุข

เกษตรและสหกรณ์ สนั่น ขจรประศาสน์ • ชวน หลีกภัย • เจริญ คันธวงศ์ • อุดมศักดิ์ ทั่งทอง • อุดร ตันติสุนทร • ประยุทธิ์ ศิริพาณิชย์ • สุทัศน์ เงินหมื่น

คมนาคม มนตรี พงษ์พานิช • นิคม แสนเจริญ • ประทวน รมยานนท์ • เอนก ทับสุวรรณ • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ

พาณิชย์ สุบิน ปิ่นขยัน • อมเรศ ศิลาอ่อน • ภิญญา ช่วยปลอด • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • เจี่ย ก๊กผล

มหาดไทย ประมาณ อดิเรกสาร • บรรหาร ศิลปอาชา • สันติ ชัยวิรัตนะ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • วัฒนา อัศวเหม • วสิษฐ เดชกุญชร

ยุติธรรม จำรัส มังคลารัตน์

วิทยาศาสตร์ฯ ประจวบ ไชยสาส์น • เจริญ คันธวงศ์

ศึกษาธิการ มานะ รัตนโกเศศ • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • สกุล ศรีพรหม • ใหม่ ศิรินวกุล • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ประยูร สุรนิวงศ์ • เฉลิม อยู่บำรุง

สาธารณสุข ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค • ประจวบ ไชยสาส์น • สุทัศน์ เงินหมื่น • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • เอนก ทับสุวรรณ

อุตสาหกรรม บรรหาร ศิลปอาชา • ประมาณ อดิเรกสาร • ดุสิต รังคสิริ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • สมาน ภุมมะกาญจนะ

ทบวงมหาวิทยาลัย ทวิช กลิ่นประทุม • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ

โฆษกประจำสำนักนายกฯ สุวิทย์ ยอดมณี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย

รองนายกรัฐมนตรี บัญญัติ บรรทัดฐาน • อำนวย วีรวรรณ • บุญชู โรจนเสถียร • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ชวลิต ยงใจยุทธ • สุขวิช รังสิตพล • จำลอง ศรีเมือง (ขณะรักษาการ) • อาทิตย์ กำลังเอก

สำนักนายกรัฐมนตรี เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ • ชินวุธ สุนทรสีมะ • พิมพา จันทร์ประสงค์ (ขณะรักษาการ) • กร ทัพพะรังสี • ปัญจะ เกสรทอง

กลาโหม วิจิตร สุขมาก • สมบัติ รอดโพธิ์ทอง • โรช วิภัติภูมิประเทศ (ขณะรักษาการ)

การคลัง ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • บุญชู ตรีทอง • อำนวย ปะติเส • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล

การต่างประเทศ ประสงค์ สุ่นศิริ • ทักษิณ ชินวัตร • กระแส ชนะวงศ์ (ขณะรักษาการ) • สุรินทร์ พิศสุวรรณ

เกษตรและสหกรณ์ นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • สุเทพ เทือกสุบรรณ • สวัสดิ์ สืบสายพรหม • ถวิล จันทร์ประสงค์ • สมุทร มงคลกิติ (ขณะรักษาการ) • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์

คมนาคม วินัย สมพงษ์ • วิชิต สุรพงษ์ชัย (ขณะรักษาการ) • จรัส พั้วช่วย • ไสว พัฒโน • ทวี ไกรคุปต์ • สมศักดิ์ เทพสุทิน • เอนก ทับสุวรรณ • พินิจ จารุสมบัติ • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ (ขณะรักษาการ) • เดช บุญ-หลง

พาณิชย์ อุทัย พิมพ์ใจชน • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • ฉัตรชัย เอียสกุล • กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ

มหาดไทย ชวลิต ยงใจยุทธ • สนั่น ขจรประศาสน์ • เด่น โต๊ะมีนา • สุทัศน์ เงินหมื่น • ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ • เชาวน์วัศ สุดลาภา • อุดร ตันติสุนทร (ขณะรักษาการ) • วันมูหะมัดนอร์ มะทา • ไพโรจน์ โลห์สุนทร

ยุติธรรม สุวิทย์ คุณกิตติ • ไสว พัฒโน

แรงงานฯ ชวลิต ยงใจยุทธ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เสริมศักดิ์ การุญ • ยุทธ อังกินันทน์

วิทยาศาสตร์ฯ พิศาล มูลศาสตรสาทร • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • ปรีชา มุสิกุล

ศึกษาธิการ สัมพันธ์ ทองสมัคร • ปราโมทย์ สุขุม • สังข์ทอง ศรีธเรศ • อดิศร เพียงเกษ • สฤต สันติเมทนีดล (ขณะรักษาการ) • กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ • เจริญ คันธวงศ์

สาธารณสุข บุญพันธ์ แขวัฒนะ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • รักเกียรติ สุขธนะ • เอนก ทับสุวรรณ • อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม • เตือนใจ นุอุปละ • ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ (ขณะรักษาการ)

อุตสาหกรรม สนั่น ขจรประศาสน์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี' • พรเทพ เตชะไพบูลย์ • เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ • ประเทือง คำประกอบ

ทบวงมหาวิทยาลัย สุเทพ อัตถากร • กระแส ชนะวงศ์ • ถวิล ไพรสณฑ์ (ขณะรักษาการ)

โฆษกประจำสำนักนายกฯ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • อรรคพล สรสุชาติ • มนตรี ด่านไพบูลย์ • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • ธำรงค์ ไทยมงคล • วิทยา แก้วภราดัย

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กคณะรัฐมนตรีคณะที่ 53 ของไทย

นายกรัฐมนตรี ชวน หลีกภัย

รองนายกรัฐมนตรี พิชัย รัตตกุล • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ปัญจะ เกสรทอง • สุวิทย์ คุณกิตติ • กร ทัพพะรังสี • สนั่น ขจรประศาสน์ • ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • บัญญัติ บรรทัดฐาน • วิโรจน์ เปาอินทร์ • สุทัศน์ เงินหมื่น

สำนักนายกรัฐมนตรี สุพัตรา มาศดิตถ์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมบุญ ระหงษ์ • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • ปวีณา หงสกุล • ภิญโญ นิโรจน์ • อดิศัย โพธารามิก (ขณะรักษาการ)

กลาโหม ชวน หลีกภัย • วัฒนชัย วุฒิศิริ

การคลัง ธารินทร์ นิมมานเหมินท์ • พิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล • พิสิฐ ลี้อาธรรม

การต่างประเทศ สุรินทร์ พิศสุวรรณ • หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร

เกษตรและสหกรณ์ ปองพล อดิเรกสาร · ประภัตร โพธสุธน • วิรัช รัตนเศรษฐ • สมชาย สุนทรวัฒน์ • เนวิน ชิดชอบ • อนุรักษ์ จุรีมาศ • อาคม เอ่งฉ้วน • ประภัตร โพธสุธน

คมนาคม สุเทพ เทือกสุบรรณ • ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ • สนธยา คุณปลื้ม • เผดิมชัย สะสมทรัพย์ • โชคสมาน สีลาวงษ์ • อิทธิ ศิริลัทธยากร • ไชยา สะสมทรัพย์ • จองชัย เที่ยงธรรม

พาณิชย์ ศุภชัย พานิชภักดิ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • โพธิพงษ์ ล่ำซำ • ประวิช รัตนเพียร • กรพจน์ อัศวินวิจิตร • รักษ์ ตันติสุนทร

มหาดไทย สนั่น ขจรประศาสน์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ • วัฒนา อัศวเหม • ประภัตร โพธสุธน • พินิจ จารุสมบัติ • สนธยา คุณปลื้ม

ยุติธรรม สุทัศน์ เงินหมื่น

แรงงานฯ ไตรรงค์ สุวรรณคีรี • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • วุฒิ สุโกศล • ประชา พรหมนอก • จองชัย เที่ยงธรรม • ประกอบ สังข์โต • ปวีณา หงสกุล • อนุสรณ์ วงศ์วรรณ • ประยุทธ์ ศิริพานิชย์

วิทยาศาสตร์ฯ ยิ่งพันธ์ มนะสิการ • สุวิทย์ คุณกิตติ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • พรเทพ เตชะไพบูลย์ • ระวี หิรัญโชติ

ศึกษาธิการ ชุมพล ศิลปอาชา • ปัญจะ เกสรทอง • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • อาคม เอ่งฉ้วน • ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (ขณะรักษาการ) • กัญจนา ศิลปอาชา • วิชัย ตันศิริ

สาธารณสุข รักเกียรติ สุขธนะ • กร ทัพพะรังสี • ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ • คำรณ ณ ลำพูน • เดชา สุขารมณ์

อุตสาหกรรม สมศักดิ์ เทพสุทิน • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • พลกฤษณ์ หงษ์ทอง • อนุรักษ์ จุรีมาศ • ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ • สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ • วุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย

ทบวงมหาวิทยาลัย เดชา สุขารมณ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • สุชน ชามพูนท (ขณะรักษาการ)

โฆษกประจำสำนักนายกฯ อรรคพล สรสุชาติ • สมชาย สหชัยรุ่งเรือง • สาคร พรหมภักดี • ปาน พึ่งสุจริต • รัตนา จงสุทธนามณี

พ้นจากตำแหน่ง : รัฐมนตรีช่วยว่าการ

[แสดง]ด • พ • กเสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย

[แสดง] สมุหพระกลาโหม

เจ้าพระยามหาเสนา (ปลี) • เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) • เจ้าพระยามหาเสนา (ปิ่น) • เจ้าพระยามหาเสนา (บุญมา) • เจ้าพระยาวรวงศาสุรศักดิ์ (แสง วงศาโรจน์) • เจ้าพระยามหาเสนา (สังข์) • เจ้าพระยามหาเสนา (น้อย) • สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) • สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) • เจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) • เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (พุ่ม ศรีไชยันต์)
 


[แสดง] เสนาบดีกระทรวงกลาโหม

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช • เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) • เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) • สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร • พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) • พระยาประเสริฐสงคราม



[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) • พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) • พระยาประเสริฐสงคราม • แปลก พิบูลสงคราม • มังกร พรหมโยธี • หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) • สินธุ์ กมลนาวิน • ชิต มั่นศิลป สินาดโยธารักษ์ • จิร วิชิตสงคราม • หลวงชาตินักรบ (ศุข ชาตินักรบ) • สฤษดิ์ ธนะรัชต์ • ถนอม กิตติขจร • ทวี จุลละทรัพย์ • ครวญ สุทธานินทร์ • ทวิช เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา • ประมาณ อดิเรกสาร • กฤษณ์ สีวะรา • เสนีย์ ปราโมช • สงัด ชลออยู่ • เล็ก แนวมาลี • เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ • เปรม ติณสูลานนท์ • พะเนียง กานตรัตน์ • ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวลิต ยงใจยุทธ • ประพัฒน์ กฤษณะจันทร์ • สุจินดา คราประยูร • บรรจบ บุนนาค • วิจิตร สุขมาก • ชวน หลีกภัย • ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา • เชษฐา ฐานะจาโร • สัมพันธ์ บุญญานันต์ • บุญรอด สมทัศน์ • สมัคร สุนทรเวช • สมชาย วงศ์สวัสดิ์ • ประวิตร วงษ์สุวรรณ • ยุทธศักดิ์ ศศิประภา • สุกำพล สุวรรณทัต
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงพรหมโยธี • หลวงเสรีเริงฤทธิ์ • พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต • สวัสดิ์ สวัสดิ์รณรงค์ • ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ • จิระ วิชิตสงคราม • สังวรณ์ สุวรรณชีพ • หลวงเทวฤทธิพันลึก • ทวน วิชัยขัทคะ • ทวน วิชัยขัทคะ • น้อม เกตุนุติ • พระยาวิชิตชลธี • หลวงสินธาวณัติก์ • ปลด พิบูลภาณุวัฒน์ • หลวงสุนาวินวิวัฒ • สฤษดิ์ ธนะรัชต์ • ผิน ชุณหะวัณ • ถนอม กิตติขจร • บุญชู จันทรุเบกษา • สนอง ธนศักดิ์ • ทวี จุลละทรัพย์ • จิตติ นาวีเสถียร • กฤษณ์ สีวะรา • ถวิล รายนานนท์ • สุรกิจ มัยลาภ • บัว ศิริทรัพย์ • อุสาห์ ชัยนาม • กมล สีตะกลิน • ทวิช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ • เล็ก แนวมาลี • ประสงค์ คุณะดิลก • ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา • อมร ศิริกายะ • กวี สิงหะ • พะเนียง กานตรัตน์ • สมุทร สหนาวิน • อาทิตย์ กำลังเอก • วิมล วงศ์วานิช • พิศิษฐ์ ศาลิคุปต์ • ชัชชม กันหลง • สมบัติ รอดโพธิ์ทอง • โรช วิภัติภูมิประเทศ • วิโรจน์ แสงสนิท • วัฒนชัย วุฒิศิริ • ยุทธศักดิ์ ศศิประภา


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงธรรมการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการของไทย

[แสดง] เสนาบดีกระทรวงธรรมการ (พ.ศ. 2435 - พ.ศ. 2475)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค) • พระยาวุฒิการบดี (หม่อมราชวงศ์คลี่ สุทัศน์) • พระยาวิสุทธสุริยศักดิ์ (หม่อมราชวงศ์เปีย มาลากุล) • พระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) • พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต
 


[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการ (พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2484)

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) • พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) • พระสารสาสน์ประพันธ์ • สินธุ์ กมลนาวิน



[แสดง] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2485 - ปัจจุบัน)

แปลก พิบูลสงคราม • ประยูร ภมรมนตรี • ทวี บุณยเกตุ • พระตีรณสารวิศวกรรม (ตรี ตีรณสาร) • เดือน บุนนาค • พระยาศราภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • มังกร พรหมโยธี • สวัสดิ์ ส. สวัสดิเกียรติ • เลียง ไชยกาล • มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล • สุกิจ นิมมานเหมินท์ • อภัย จันทวิมล • เกรียง กีรติกร • ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์ • นิพนธ์ ศศิธร • ประชุม รัตนเพียร • ศิริ สิริโยธิน • ภิญโญ สาธร • บุญสม มาร์ติน • สิปปนนท์ เกตุทัต • เกษม ศิริสัมพันธ์ • ชวน หลีกภัย • มารุต บุนนาค • มานะ รัตนโกเศศ • เทียนชัย ศิริสัมพันธ์ • สมบุญ ระหงษ์ • สัมพันธ์ ทองสมัคร • สุขวิช รังสิตพล • ชิงชัย มงคลธรรม • ชุมพล ศิลปอาชา • ปัญจะ เกสรทอง • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • เกษม วัฒนชัย • ทักษิณ ชินวัตร • สุวิทย์ คุณกิตติ • ปองพล อดิเรกสาร • อดิศัย โพธารามิก • จาตุรนต์ ฉายแสง • วิจิตร ศรีสอ้าน • สมชาย วงศ์สวัสดิ์ • ศรีเมือง เจริญศิริ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ชินวรณ์ บุณยเกียรติ • วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล • สุชาติ ธาดาธำรงเวช
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงโกวิทอภัยวงศ์ (ควง อภัยวงศ์) • ประยูร ภมรมนตรี • หลวงศุภชลาศัย • เดือน บุนนาค • วิโรจน์ กมลพันธ์ • ขุนคงฤทธิศึกษากร • สงกรานต์ อุดมสิทธิ์ • หลวงเชิดวุฒากาศ • เฉลิม พงศ์สวัสดิ์ • เผชิญ นิมิบุตร • ทิม ภูริพัฒน์ • กฤษณ์ สีวะรา • อภัย จันทวิมล • บุญสม มาร์ติน • หม่อมหลวงจิรายุ นพวงศ์ • ก่อ สวัสดิพาณิชย์ • ขุนทอง ภูผิวเดือน • ประเสริฐ บุญสม • สุวรรณ ธนกัญญา • ปัญจะ เกสรทอง • สิดดิก สารีฟ • ดาบชัย อัคราช • ชูสง่า ฤทธิประศาสน์ • ยุพา อุดมศักดิ์ • สิปปนนท์ เกตุทัต • ขุนทอง ภูผิวเดือน • สัมพันธ์ ทองสมัคร • มานะ รัตนโกเศศ • สกุล ศรีพรหม • ใหม่ ศิรินวกุล • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ประยูร สุรนิวงศ์ • เฉลิม อยู่บำรุง • บุญถึง ผลพานิชย์ • สมชัย วุฑฒิปรีชา • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ไพโรจน์ เครือรัตน์ • เงิน บุญสุภา • ปราโมทย์ สุขุม • สังข์ทอง ศรีธเรศ • อดิศร เพียงเกษ • สฤต สันติเมทนีดล • กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ • เจริญ คันธวงศ์ • ชิงชัย มงคลธรรม • เชาวริน ลัทธศักดิ์ศิริ • สุรพร ดนัยตั้งตระกูล • จำลอง ครุฑขุนทด • อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ • วุฒิ สุโกศล • พจน์ สะเพียรชัย • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • อาคม เอ่งฉ้วน • ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร • กัญจนา ศิลปอาชา • วิชัย ตันศิริ • สิริกร มณีรินทร์ • สุธรรม แสงประทุม • อารีย์ วงศ์อารยะ • รุ่ง แก้วแดง • วรากรณ์ สามโกเศศ • บุญลือ ประเสริฐโสภา • พงศกร อรรณนพพร • ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ • นริศรา ชวาลตันพิพัทธ์ • ไชยยศ จิรเมธากร • บุญรื่น ศรีธเรศ • สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล • ศักดา คงเพชร


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ของไทย

[แสดง] เสนาบดี

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ • เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร (หม่อมราชวงศ์ลบ สุทัศน์) • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี
 


[แสดง] รัฐมนตรีว่าการ

พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี • พระยานิติศาสตร์ไพศาล (วัน จามรมาน) • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ • ดิเรก ชัยนาม • พระยานลราชวสุวัจน์ (ทองดี นลราชสุวัจน์) • หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) • เสนีย์ ปราโมช • พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) • พระมนูภาณวิมลศาสตร์ (ชม จามรมาน) • เลียง ไชยกาล • เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ • พระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์) • หลวงจำรูญเนติศาสตร์ (จำรูญ โปษยานนท์) • กมล วรรณประภา • ประกอบ หุตะสิงห์ • กิตติ สีหนนท์ • เทียม ไชยนันท์ • ใหญ่ ศวิตชาต • บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชวน หลีกภัย • เสมา รัตนมาลัย • สุธรรม ภัทราคม • มารุต บุนนาค • พิภพ อะสีติรัตน์ • สะอาด ปิยวรรณ • จำรัส มังคลารัตน์ • อุทัย พิมพ์ใจชน • ประภาศน์ อวยชัย • สวัสดิ์ คำประกอบ • วิเชียร วัฒนคุณ • สุวิทย์ คุณกิตติ • ไสว พัฒโน • เฉลิม อยู่บำรุง • สุทัศน์ เงินหมื่น • พงศ์เทพ เทพกาญจนา • จาตุรนต์ ฉายแสง • ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • ชิดชัย วรรณสถิตย์ • ชาญชัย ลิขิตจิตถะ • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ • พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค • ประชา พรหมนอก
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญนิติเกษตร • เขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ • หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) • เลียง ไชยกาล • อัมพร จินตกานนท์ • สมภพ โหตระกิตย์ • ชวน หลีกภัย • บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ กระทรวงเศรษฐการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ของไทย

[แสดง] กระทรวงเกษตรพาณิชยการ (2475 - 2476)

พระยาวงษานุประพัทธ
 


[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2476 - 2484)

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) • พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สารสาส) • พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) • พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญยุทธศิลป์ • หลวงเสรีเริงฤทธิ์



[แสดง] กระทรวงเศรษฐกิจ (2484 - 2485)

เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • สินธุ์ กมลนาวิน • หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงชำนาญนิติเกษตร • หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์



[แสดง] กระทรวงพาณิชย์ (2485 - 2495)

หลวงเสรีเริงฤทธิ์ (จรูญ รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์) • ควง อภัยวงศ์ • หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ • หลวงศุภชลาศัย • หม่อมหลวงอุดม สนิทวงศ์ • มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ • วิลาศ โอสถานนท์ • เดือน บุนนาค • พระยามไหสวรรย์ (กวย สมบัติศิริ) • หลวงวิจิตรวาทการ
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หม่อมหลวงเดช สนิทวงศ์ • กอ มไหสวรรย์ สมบัติศิริ • เดือน บุนนาค • จำลอง ดาวเรือง • หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช • เทพ โชตินุชิต • ศิริ สิริโยธิน



[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2495 - 2514)

นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) • แปลก พิบูลสงคราม • ศิริ สิริโยธิน • เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • สุกิจ นิมมานเหมินท์ • สุนทร หงส์ลดารมภ์ • เกษม ศรีพยัตฆ์ • พจน์ สารสิน • บุญชนะ อัตถากร
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ศิริ สิริโยธิน • สุรพงษ์ ตรีรัตน์ • จิตติ นาวีเสถียร • พิชัย กุลละวณิชย์ • ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์



[แสดง] กระทรวงพาณิชย์ (2515 - ปัจจุบัน)

ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ • ชาญชัย ลี้ถาวร • วิจารณ์ นิวาตวงศ์ • ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • ทองหยด จิตตวีระ • สุธี นาทวรทัต • นาม พูนวัตถุ • อบ วสุรัตน์ • ตามใจ ขำภโต • ปุนมี ปุณศรี • ชวน หลีกภัย • โกศล ไกรฤกษ์ • สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์ • มนตรี พงษ์พานิช • สุบิน ปิ่นขยัน • อมเรศ ศิลาอ่อน • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • อุทัย พิมพ์ใจชน • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ณรงค์ชัย อัครเศรณี • สม จาตุศรีพิทักษ์ • ศุภชัย พานิชภักดิ์ • อดิศัย โพธารามิก • วัฒนา เมืองสุข • ทนง พิทยะ • สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ • เกริกไกร จีระแพทย์ • มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ • ไชยา สะสมทรัพย์ • พรทิวา นาคาศัย • กิตติรัตน์ ณ ระนอง • บุญทรง เตริยาภิรมย์
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) โอสถ โกศิน • จรูญ ศรีบุญเรือง • ประสงค์ สุขุม • ประเทือง คำประกอบ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • ธเนศ เอียสกุล • คล้าย ละอองมณี • ปรก อัมระนันทน์ • จุมพล ธรรมจารีย์ • วิสิษฐ์ ตันสัจจา • ไพโรจน์ ไชยพร • ประกายพฤกษ์ ศรุตานนท์ • ทวี ไกรคุปต์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • ประยูร จินดาศิลป์ • อำนวย ยศสุข • ประจวบ ไชยสาส์น • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ภิญญา ช่วยปลอด • เจี่ย ก๊กผล • จำนงค์ โพธิสาโร • หม่อมราชวงศ์ปรีดิยาธร เทวกุล • สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ • พวงเล็ก บุญเชียง • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • ฉัตรชัย เอียสกุล • กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ • ไพโรจน์ สุวรรณฉวี • มนตรี ด่านไพบูลย์ • อำนวย ยศสุข • สุคนธ์ กาญจนาลัย • เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย • สมพร อัศวเหม • วิชัย ชัยจิตวณิชกุล • พจน์ วิเทตยนตรกิจ • ไพฑูรย์ แก้วทอง • โพธิพงษ์ ล่ำซำ • ประวิช รัตนเพียร • กรพจน์ อัศวินวิจิตร • รักษ์ ตันติสุนทร • สุวรรณ วลัยเสถียร • เนวิน ชิดชอบ • วัฒนา เมืองสุข • พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล • อนุทิน ชาญวีรกูล • สุริยา ลาภวิสุทธิสิน • ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ • อรนุช โอสถานนท์ • วิรุฬ เตชะไพบูลย์ • บรรยิน ตั้งภากรณ์ • พิเชษฐ์ ตันเจริญ • สงคราม กิจเลิศไพโรจน์ • อลงกรณ์ พลบุตร • ภูมิ สาระผล • ศิริวัฒน์ ขจรประศาสน์


[แสดง]ด • พ • กเสนาบดีกระทรวงเกษตรพาณิชยการ กระทรวงเกษตราธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ของไทย

[แสดง] เสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ (2435 - 2474)

เจ้าพระยาภาสกรวงศ์ • เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) • เจ้าพระยาพลเทพ (พุ่ม ศรีไชยยันต์) • พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ • เจ้าพระยาพลเทพ (เฉลิม โกมารกุล ณ นคร) • เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค)
 


[แสดง] กระทรวงเกษตรพาณิชยการ (2475 - 2476)

พระยาวงษานุประพัทธ



[แสดง] กระทรวงเศรษฐการ (2476 - 2478)

พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) • พระสารสาสน์พลขันธ์ (ลอง สารสาส) • พระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน) • พระบริภัณฑ์ยุทธกิจ (เภา เพียรเลิศ)



[แสดง] กระทรวงเกษตราธิการ (2478 - 2495)

พระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์) • พระยาฤทธิอัคเณย์ (สละ เอมะศิริ) • พระยาพหลพลพยุหเสนา • พระเวชยันต์รังสฤษฎ์ • หลวงเดชสหกรณ์ • สินธุ์ กมลนาวิน • ทวี บุณยเกตุ • พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ (สิทธิ จุณณานนท์) • พระยาอัชราชทรงสิริ (แม้น อรุณลักษณ์) • จรูญ สืบแสง • ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม • ควง อภัยวงศ์ • หม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร • พระยาพนานุจร (เปล่ง สาครบุตร) • พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) • เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ • หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) หลวงศุภชลาศัย • หลวงเดชสหกรณ์ • อุทัย แสงมณี • เยื้อน พาณิชวิทย์ • น้อม เกตุนุติ • ฟื้น สุพรรณสาร • เสรี อิศรางกูร ณ อยุธยา • ละม้าย อุทยานานนท์



[แสดง] กระทรวงสหกรณ์ (2495 - 2506)

หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ยุทธศาสตร์โกศล) • ศิริ สิริโยธิน • แปลก พิบูลสงคราม • วิบูลย์ ธรรมบุตร • พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร)
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ละม้าย อุทยานานนท์ • ศิริ สิริโยธิน • เดช เดชประดิยุทธ • ถนอม กิตติขจร • ยศ อินทรโกมาลย์สุต • ชลอ จารุกลัส • อารีย์ ตันติเวชกุล



[แสดง] กระทรวงเกษตร (2495 - 2514)

หลวงสุนาวินวิวัฒ (พิศาล สุนาวิน) • ผิน ชุณหะวัณ • วิบูลย์ ธรรมบุตร • สวัสดิ์ มหาผล • สุรจิตร จารุเศรณี • พระประกาศสหกรณ์ • หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) ละม้าย อุทยานานนท์ • เฉลิมเกียรติ วัฒนางกูร • กฤช ปุณณกันต์ • ชื่น ระวิวรรณ • จิตติ นาวีเสถียร • มนูญ บริสุทธิ์



[แสดง] กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2515 - ปัจจุบัน)

ทวี จุลละทรัพย์ • หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ • สวัสดิ์ คำประกอบ • ทวิช กลิ่นประทุม • ประมาณ อดิเรกสาร • อินทรีย์ จันทรสถิตย์ • ปรีดา กรรณสูต • เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ • บรรหาร ศิลปอาชา • อาณัติ อาภาภิรม • ชวน หลีกภัย • ณรงค์ วงศ์วรรณ • หาญ ลีนานนท์ • สนั่น ขจรประศาสน์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • พินิจ จันทรสุรินทร์ • โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ • นิพนธ์ พร้อมพันธุ์ • ประจวบ ไชยสาส์น • มนตรี พงษ์พานิช • สุวิทย์ คุณกิตติ • ชูชีพ หาญสวัสดิ์ • ปองพล อดิเรกสาร • ประภัตร โพธสุธน • สรอรรถ กลิ่นประทุม • สมศักดิ์ เทพสุทิน • วันมูหะมัดนอร์ มะทา • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • ธีระ สูตะบุตร • สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล • ธีระ วงศ์สมุทร
--------------------------------------------------------------------------------
(รัฐมนตรีช่วย) พิชัย กุลละวณิชย์ • แสวง กุลทองคำ • เถลิง ธำรงนาวาสวัสดิ์ • พันธุ์เลิศ บูรณะศิลปิน • ไกรสร ตันติพงศ์ • สมัคร สุนทรเวช • แผน สิริเวชชะพันธ์ • ดาบชัย อัคราช • อนันต์ ฉายแสง • บุญส่ง สมใจ • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • อาภรณ์ ศรีพิพัฒน์ • ทำนอง สิงคาลวณิช • วงศ์ พลนิกร • สง่า กิตติขจร • ระพี สาคริก • ปรีดา กรรณสูต • อาณัติ อาภาภิรม • ปุณมี ปุณศรี • กฤช สังขทรัพย์ • โกศล ไกรฤกษ์ • ณรงค์ วงศ์วรรณ • วีระ มุสิกพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • ปรีดา พัฒนถาบุตร • บรม ตันเถียร • ประยุทธ์ ศิริพาณิชย์ • ผัน บุญชิต • ประสพ บุษราคัม • สุเทพ เทือกสุบรรณ • เสนาะ เทียนทอง • ประยุทธ์ ศิริพานิชย์ • เจริญ คันธวงศ์ • อุดมศักดิ์ ทั่งทอง • อุดร ตันติสุนทร • สุทัศน์ เงินหมื่น • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • วโรทัย ภิญญสาสน์ • อาชว์ เตาลานนท์ • โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ • สันติ ชัยวิรัตนะ • ยุทธ อังกินันทน์ • วโรทัย ภิญญสาสน์ • อำพล เสนาณรงค์ • สุเทพ เทือกสุบรรณ • สวัสดิ์ สืบสายพรหม • ถวิล จันทร์ประสงค์ • สมุทร มงคลกิติ • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • ประพาส ลิมปะพันธุ์ • สุวิทย์ คุณกิตติ • ชาญชัย ปทุมารักษ์ • ฉัตรชัย เอียสกุล • มณฑล ไกรวัฒนุสสรณ์ • รักเกียรติ สุขธนะ • กริช กงเพชร • สำเภา ประจวบเหมาะ • ประวัฒน์ อุตตะโมต • ปองพล อดิเรกสาร • วิรัช รัตนเศรษฐ • สมชาย สุนทรวัฒน์ • เนวิน ชิดชอบ • อนุรักษ์ จุรีมาศ • อาคม เอ่งฉ้วน • ประภัตร โพธสุธน • ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ • นที ขลิบทอง • อดิศร เพียงเกษ • รุ่งเรือง อิศรางกูร ณ อยุธยา • ธีระชัย แสนแก้ว • สมพัฒน์ แก้วพิจิตร • ชาติชาย พุคยาภรณ์ • ศุภชัย โพธิ์สุ • พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ • ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ


[แสดง]ด • พ • กรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขของไทย

[แสดง] รัฐมนตรีว่าการ

ช่วง เชวงศักดิ์สงคราม • เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ • หลวงศุภชลาศัย • ทวี บุณยเกตุ • อดุล อดุลเดชจรัส • หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) • พระยาสุนทรพิพิธ (เชย มัฆวิบูลย์) • แสง สุทธิพงศ์ • ประจวบ บุนนาค • เล็ก สุมิตร • พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) • ประยูร ภมรมนตรี • ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี • เฉลิม พรมมาศ • พระบำราศนราดูร (หลง เวชชาชีวะ) • ประเสริฐ รุจิรวงศ์ • อุดม โปษกฤษณะ • คล้าย ละอองมณี • ประชุม รัตนเพียร • สวัสดิ์ คำประกอบ • ทวี จุลละทรัพย์ • ยงยุทธ สัจจวาณิชย์ • บุญสม มาร์ติน • เสม พริ้งพวงแก้ว • ทองหยด จิตตวีระ • มารุต บุนนาค • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • ชาติชาย ชุณหะวัณ • ชวน หลีกภัย • ประจวบ ไชยสาส์น • ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ • ไพโรจน์ นิงสานนท์ • บุญพันธ์ แขวัฒนะ • อาทิตย์ อุไรรัตน์ • เสนาะ เทียนทอง • มนตรี พงษ์พานิช • สมศักดิ์ เทพสุทิน • รักเกียรติ สุขธนะ • กร ทัพพะรังสี • สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ • สุชัย เจริญรัตนกุล • พินิจ จารุสมบัติ • มงคล ณ สงขลา • ไชยา สะสมทรัพย์ • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล • เฉลิม อยู่บำรุง • วิทยา แก้วภราดัย • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • วิทยา บุรณศิริ
 


[แสดง] รัฐมนตรีช่วยว่าการ

ประจวบ บุนนาค • เล็ก สุมิตร • น้อม เกตุนุติ • ประยูร ภมรมนตรี • สวัสดิ์ คำประกอบ • เจ๊ะ อับดุลลา หลังปูเต๊ะ • สมบุญ ผ่องอักษร • เสม พริ้งพวงแก้ว • อุทัย ชุณหะนันทน์ • อนันต์ ฉายแสง • ปรีชา มุสิกุล • ประพนธ์ ปิยะรัตน์ • กระแส ชนะวงศ์ • อำพัน หิรัญโชติ • อำนวย ยศสุข • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • วัชรินทร์ เกตะวันดี • สุทัศน์ เงินหมื่น • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • เอนก ทับสุวรรณ • เด่น โต๊ะมีนา • วีรวร สิทธิธรรม • อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมศักดิ์ เทพสุทิน • จรูญ งามพิเชษฐ์ • รักเกียรติ สุขธนะ • เอนก ทับสุวรรณ • อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม • เตือนใจ นุอุปละ • ทินวัฒน์ มฤคพิทักษ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • ธวัชวงศ์ ณ เชียงใหม่ • สุนทร วิลาวัลย์ • สมาน ภุมมะกาญจนะ • สมภพ อมาตยกุล • สมชาย เบญจรงคกุล • ธีระวัฒน์ ศิริวันสาณฑ์ • คำรณ ณ ลำพูน • เดชา สุขารมณ์ • สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี • ประชา พรหมนอก • จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์ • สิริกร มณีรินทร์ • อนุทิน ชาญวีรกูล • สุชัย เจริญรัตนกุล • อนุทิน ชาญวีรกูล • มรกต กรเกษม • วัลลภ ไทยเหนือ • ชวรัตน์ ชาญวีรกูล • วิชาญ มีนชัยนันท์ • มานิต นพอมรบดี • พรรณสิริ กุลนาถศิริ • ต่อพงษ์ ไชยสาส์น • สุรวิทย์ คนสมบูรณ์


[แสดง]ด • พ • กรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีของไทย

 มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ • พระประกาศสหกรณ์ (สดับ วีรเธียร) • แสวง เสนาณรงค์ • มนูญ บริสุทธิ์ • สุรินทร์ มาศดิตถ์ • บุญยิ่ง นันทาภิวัฒน์ • ปรีดา พัฒนถาบุตร • นิพนธ์ ศศิธร • ชวน หลีกภัย • นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ • ดุสิต ศิริวรรณ • บุญเรือน บัวจรูญ • สมพร บุญยคุปต์ • ถวิล รายนานนท์ • บุญยง วัฒนพงศ์ • สวัสดิ์ คำประกอบ • เฉลิมชัย จารุวัสตร์ • สิทธิ เศวตศิลา • เกษม จาติกวณิช • ปรีดา กรรณสูต • ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา • ประมวล กุลมาตย์ • พร ธนะภูมิ • ดำริ น้อยมณี • สมศักดิ์ ชูโต • มีชัย ฤชุพันธุ์ • ชาญ อังศุโชติ • พล เริงประเสริฐวิทย์ • สุตสาย หัสดิน • ศุลี มหาสันทนะ • ชาญ มนูธรรม • กระมล ทองธรรมชาติ • ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ • บัญญัติ บรรทัดฐาน • จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา • อำนวย สุวรรณคีรี • วิชิต แสงทอง • อรุณ ภานุพงศ์ • บุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ • กร ทัพพะรังสี • อนุวรรตน์ วัฒนพงศ์ศิริ • เฉลิม อยู่บำรุง • ประสงค์ บูรณ์พงศ์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • สอาด ปิยวรรณ • กร ทัพพะรังสี • หาญ ลีลานนท์ • จำรัส มังคลารัตน์ • สรอรรถ กลิ่นประทุม • หม่อมราชวงศ์เกษมสโมสร เกษมศรี • ไพจิตร เอื้อทวีกุล • มีชัย วีระไวทยะ • สายสุรี จุติกุล • ใหม่ ศิรินวกุล • ชัชวาลย์ ชมภูแดง • สุชน ชามพูนท • วัฒนา อัศวเหม • ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ • ชัยภักดิ์ ศิริวัฒน์ • ทินพันธุ์ นาคะตะ • เทอดพงษ์ ไชยนันทน์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ • ชินวุธ สุนทรสีมะ • พิมพา จันทร์ประสงค์ • ปัญจะ เกสรทอง • ปองพล อดิเรกสาร • เรืองวิทย์ ลิกค์ • จรัส พั้วช่วย • รักเกียรติ สุขธนะ • โภคิน พลกุล • บุญพันธ์ แขวัฒนะ • ฉัตรชัย เอียสกุล • ชิงชัย มงคลธรรม • วีระกร คำประกอบ • สมพงษ์ อมรวิวัฒน์ • เกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ • สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์ • ภูษณ ปรีย์มาโนช • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • สุพัตรา มาศดิตถ์ • สาวิตต์ โพธิวิหค • จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ • สมบุญ ระหงษ์ • ไชยยศ สะสมทรัพย์ • พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์ • ปวีณา หงสกุล • ภิญโญ นิโรจน์ • อดิศัย โพธารามิก • จาตุรนต์ ฉายแสง • ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา • สมศักดิ์ เทพสุทิน • กระแส ชนะวงศ์ • พงศ์เทพ เทพกาญจนา • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ • สุรนันทน์ เวชชาชีวะ • เนวิน ชิดชอบ • ทิพาวดี เมฆสวรรค์ • ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ • ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล • ชูศักดิ์ ศิรินิล • จักรภพ เพ็ญแข • สุขุมพงศ์ โง่นคำ • สุพล ฟองงาม • สาทิตย์ วงศ์หนองเตย • วีระชัย วีระเมธีกุล • องอาจ คล้ามไพบูลย์ • สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ • กฤษณา สีหลักษณ์ • วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล • นลินี ทวีสิน • นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล
 

[แสดง]ด • พ • กพรรคประชาธิปัตย์

[แสดง] หัวหน้าพรรค

ควง อภัยวงศ์ • หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช • ถนัด คอมันตร์ • พิชัย รัตตกุล • ชวน หลีกภัย • บัญญัติ บรรทัดฐาน • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ



[แสดง] เลขาธิการพรรค

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช • เทพ โชตินุชิต • ชวลิต อภัยวงศ์ • ใหญ่ ศวิตชาติ • ธรรมนูญ เทียนเงิน • ดำรง ลัทธพิพัฒน์ • เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ • มารุต บุนนาค
เล็ก นานา • วีระ มุสิกพงศ์ • สนั่น ขจรประศาสน์ • อนันต์ อนันตกูล • ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ • สุเทพ เทือกสุบรรณ • เฉลิมชัย ศรีอ่อน


[แสดง]ด • พ • กผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

เสนีย์ ปราโมช • ประมาณ อดิเรกสาร1 • ชวลิต ยงใจยุทธ1 • ประมาณ อดิเรกสาร2 • บรรหาร ศิลปอาชา • ชวน หลีกภัย1,2 • ชวลิต ยงใจยุทธ2-4 • ชวน หลีกภัย3 • บัญญัติ บรรทัดฐาน • อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ1,2,3

หมายเลขคือจำนวนสมัยที่ดำรงตำแหน่ง

ดึงข้อมูลจาก "http://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ชวน_หลีกภัย&oldid=4106700".
หมวดหมู่: บทความที่มีการแนะนำให้ย้ายบุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2481บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่บุคคลจากจังหวัดตรังนักการเมืองไทยนายกรัฐมนตรีไทยประธานสภาผู้แทนราษฎรไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมไทยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไทยรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทยผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยพรรคประชาธิปัตย์ทนายความชาวไทยบุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ชาวไทยเชื้อสายจีนชาวไทยที่นับถือศาสนาพุทธสกุลหลีกภัยสมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ.ว. (ฝ่ายหน้า)ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ผู้ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยรามคำแหงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 6 ตุลาบุคคลจากมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลหมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่: บทความที่กึ่งล็อกเครื่องมือส่วนตัว
สร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่ล็อกอินเนมสเปซ
บทความอภิปรายสิ่งที่แตกต่างดู
เนื้อหาดูโค้ดประวัติการกระทำ
สืบค้น
  ป้ายบอกทาง
หน้าหลักถามคำถามบทความคัดสรรบทความคุณภาพเหตุการณ์ปัจจุบันสุ่มบทความมีส่วนร่วมศาลาประชาคมปรับปรุงล่าสุดเรียนรู้การใช้งานติดต่อวิกิพีเดียบริจาคให้วิกิพีเดียวิธีใช้พิมพ์/ส่งออกสร้างหนังสือดาวน์โหลดในชื่อ PDFหน้าสำหรับพิมพ์
เครื่องมือหน้าที่ลิงก์มาการปรับปรุงที่เกี่ยวโยงอัปโหลดหน้าพิเศษลิงก์ถาวรอ้างอิงบทความนี้
ภาษาอื่นالعربيةDeutschEnglishEspañolFrançaisIdo日本語OccitanPortuguêsSvenskaTagalogTiếng ViệtYorùbá中文หน้านี้แก้ไขล่าสุดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2555 เวลา 17:55 น.
อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน อาจใช้เงื่อนไขอื่นร่วมด้วย ดูรายละเอียดข้อกำหนดการใช้งาน
Wikipedia® เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของมูลนิธิวิกิมีเดีย องค์กรไม่แสวงผลกำไร

ติดต่อเรา